โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูรุลฮูดา ยูโซะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล จากสถิติจำนวนผู้สูงอายุ พ.ศ. 2567 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่ามีผู้สูงอายุในประเทศไทยเป็นจำนวน 20.70% จากประชากรทั้งหมด นั่นหมายความว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ หรือ Aged Societyซึ่งตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติ กำหนดไว้ว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วน เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้โครงสร้างของประชากรเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่มีสัดส่วน ของผู้สูงอายุมากขึ้น ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงจำเป็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องตระหนักและเตรียมการ โดยระดมทรัพยากรและสหวิทยาการต่างๆ เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตำบลทุ่งหวังมีประชากรทั้งหมด 9,901 คน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 2,932 คน คิดเป็น 29.01 %ของประชากรทั้งหมดของตำบลทุ่งหวังพบว่า ตำบลทุ่งหวังก้าวเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว ซึ่งผู้สูงอายุในตำบลทุ่งหวังทั้งหมด 2,932 คน แยกเป็นติดสังคม 2,652 คน ติดบ้าน 243 คน ติดเตียง 37 คน และผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ 9 ด้าน ( 1. ความคิดความจำ 2. การเคลื่อนไหวร่างกาย 3. การขาดสารอาหาร 4. การมองเห็น 5. การได้ยิน 6. การซึมเศร้า 7. การกลั้นปัสสาวะ 8. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 9. สุขภาพช่องปาก)ทั้งหมดจำนวน 884 คน ส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุมีปัญหาการดำเนินชีวิตประจำวัน ดังนั้นการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชนจึงจำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็งและเข้าใจวิธีการทำงานเชิงรุกในพื้นที่ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ที่ให้บริการแก่ชุมชนจึงมีบทบาทของการมีส่วนสำคัญในการดูแลสุขภาพชุมชน และมีศักยภาพในการเข้าถึงประชาชนตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุในพื้นที่ สามารถติดตามช่วยเหลือการเข้าถึงระบบสุขภาพ และสามารถจัดระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพในชุมชนให้แก่ผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีสุขภาพทางกายที่แข็งแรง และจิตใจเข้มแข็ง ซึ่งสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีความสุขและตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง พร้อมเป็นพลังให้แก่ชุมชนต่อไป
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวังและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
ในปีงบประมาณ2568 ขึ้นเพื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้สูงอายุในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ
- เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- -ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 54 คน × 2 วัน )
- -อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 25 บาท × 54 คน × 4 ครั้ง x 2วัน )
- -ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 คน คนละ 6 ชั่วโมง จำนวน 2 วัน ( 600 บาท × 2 คน × 6 ชั่วโมง x 2 วัน )
- -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย
- -ค่าเอกสารคู่มือการอบรม 50เล่มๆละ 50 บาท
- -อุปกรณ์ สมุด ปากกา 50 ชุดๆละ20บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้
อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2.มีภาคีเครือข่ายตำบล การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่เข้มแข็ง
3.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อสมช. อสค. นักบริบาล ผู้ช่วย
สมองเสื่อม และภาคีเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม
4.ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องและปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
4
ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ (2) เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 54 คน × 2 วัน ) (2) -อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 25 บาท × 54 คน × 4 ครั้ง x 2วัน ) (3) -ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 คน คนละ 6 ชั่วโมง จำนวน 2 วัน ( 600 บาท × 2 คน × 6 ชั่วโมง x 2 วัน ) (4) -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย (5) -ค่าเอกสารคู่มือการอบรม 50เล่มๆละ 50 บาท (6) -อุปกรณ์ สมุด ปากกา 50 ชุดๆละ20บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนูรุลฮูดา ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนูรุลฮูดา ยูโซะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-11 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล จากสถิติจำนวนผู้สูงอายุ พ.ศ. 2567 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่ามีผู้สูงอายุในประเทศไทยเป็นจำนวน 20.70% จากประชากรทั้งหมด นั่นหมายความว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ หรือ Aged Societyซึ่งตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติ กำหนดไว้ว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป สัดส่วน เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ทำให้โครงสร้างของประชากรเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่มีสัดส่วน ของผู้สูงอายุมากขึ้น ย่อมทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ จึงจำเป็นที่ทุกภาคส่วนจะต้องตระหนักและเตรียมการ โดยระดมทรัพยากรและสหวิทยาการต่างๆ เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม การคุ้มครองดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตำบลทุ่งหวังมีประชากรทั้งหมด 9,901 คน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 2,932 คน คิดเป็น 29.01 %ของประชากรทั้งหมดของตำบลทุ่งหวังพบว่า ตำบลทุ่งหวังก้าวเป็นสังคมผู้สูงอายุแล้ว ซึ่งผู้สูงอายุในตำบลทุ่งหวังทั้งหมด 2,932 คน แยกเป็นติดสังคม 2,652 คน ติดบ้าน 243 คน ติดเตียง 37 คน และผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ 9 ด้าน ( 1. ความคิดความจำ 2. การเคลื่อนไหวร่างกาย 3. การขาดสารอาหาร 4. การมองเห็น 5. การได้ยิน 6. การซึมเศร้า 7. การกลั้นปัสสาวะ 8. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 9. สุขภาพช่องปาก)ทั้งหมดจำนวน 884 คน ส่งผลกระทบให้ผู้สูงอายุมีปัญหาการดำเนินชีวิตประจำวัน ดังนั้นการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชนจึงจำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่เข้มแข็งและเข้าใจวิธีการทำงานเชิงรุกในพื้นที่ ซึ่งอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ที่ให้บริการแก่ชุมชนจึงมีบทบาทของการมีส่วนสำคัญในการดูแลสุขภาพชุมชน และมีศักยภาพในการเข้าถึงประชาชนตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุในพื้นที่ สามารถติดตามช่วยเหลือการเข้าถึงระบบสุขภาพ และสามารถจัดระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพในชุมชนให้แก่ผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีสุขภาพทางกายที่แข็งแรง และจิตใจเข้มแข็ง ซึ่งสำคัญในการดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีความสุขและตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง พร้อมเป็นพลังให้แก่ชุมชนต่อไป
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวังและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง
ในปีงบประมาณ2568 ขึ้นเพื่อผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้สูงอายุในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ
- เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- -ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 54 คน × 2 วัน )
- -อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 25 บาท × 54 คน × 4 ครั้ง x 2วัน )
- -ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 คน คนละ 6 ชั่วโมง จำนวน 2 วัน ( 600 บาท × 2 คน × 6 ชั่วโมง x 2 วัน )
- -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย
- -ค่าเอกสารคู่มือการอบรม 50เล่มๆละ 50 บาท
- -อุปกรณ์ สมุด ปากกา 50 ชุดๆละ20บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้
อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2.มีภาคีเครือข่ายตำบล การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวหรือผู้มีภาวะพึ่งพิงที่เข้มแข็ง
3.ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อสมช. อสค. นักบริบาล ผู้ช่วย
สมองเสื่อม และภาคีเครือข่ายการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม
4.ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องและปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) อาสาสมัครเชี่ยวชาญสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสมช.) อาสาสมัครประจำครอบครัว(อสค.) นักบริบาลและผู้ช่วยสมองเสื่อมให้มีความรู้ความสามารถที่ถูกต้อง สามารถปฏิบัติและดูแลผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักและกระบวนการ (2) เพื่อเตรียมรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่มีภาวะพึ่งพิง “ Long term care” ในตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่บ้าน (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลทุ่งหวังทั้ง 10 หมู่ได้รับการดูแลสุขภาพด้านต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการวางแผนการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) -ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 54 คน × 2 วัน ) (2) -อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 4 มื้อ จำนวน 54 คน พร้อมคณะทำงาน ( 25 บาท × 54 คน × 4 ครั้ง x 2วัน ) (3) -ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 2 คน คนละ 6 ชั่วโมง จำนวน 2 วัน ( 600 บาท × 2 คน × 6 ชั่วโมง x 2 วัน ) (4) -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย (5) -ค่าเอกสารคู่มือการอบรม 50เล่มๆละ 50 บาท (6) -อุปกรณ์ สมุด ปากกา 50 ชุดๆละ20บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟื้นฟูศักยภาพการดูแลผู้สูงอายุตำบลทุ่งหวัง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนูรุลฮูดา ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......