โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธนิสสรา เจ๊ะแม็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรค NCDs ( non-communicable diseases) เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการดำเนินของโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคไต โรคNCDs เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต และความพิการจากหลอดเลือดตีบหรือแตก (stroke) ของประชากรไทย โดยในปี พ.ศ.2566 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเหล่านี้ประมาณ 400,00 คน คิดเป็นร้อยละ 74 ของการเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งหมายความว่าในทุก ๆชั่วโมง จะมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคNCDs กว่า 45 ราย จากสถิติกรมควบคุมโรคและกรมการแพทย์ พบว่าในจำนวนนี้ โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับหนึ่ง โดยมีผู้ป่วยมากกว่า 740,000 รายต่อปี มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 70,000 ราย หรือเฉลี่ยประมาณ 8 รายต่อชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรสูงวัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวทำให้เกิดภาวะทุพลภาพหรือความพิการต่างๆ ลดผลิตภาพของแรงงาน นอกจากผลกระทบด้านสุขภาพแล้ว โรคNCDs ยังเป็นภาระทางเศรษฐกิจ ของประเทศอย่างมหาศาล โดยมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงถึง 62,138 ล้านบาท ในปี 2560 ซึ่งคิดเป็น 50 % ของงบประมาณหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในปีเดียวกัน โรคNCDsเป็นภัยคุกคามที่รุนแรงต่อสุขภาพและเศรษฐกิจของประเทศ หากไม่มีมาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ ปริมาณผู้ป่วยและภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนควรให้ความร่วมมือในการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเหล่านี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถลดภาระด้านสุขภาพด้ายสุขภาพและเศรษฐกิจจาก NCDs ได้ในระยะยาว
ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง มีประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปทั้งหมด 2,380 คน ป่วยเป็นโรคNCDs ที่อยู่ในพื้นที่ แยกเป็นโรคเบาหวานสะสมทั้งสิ้น 381 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 609 ราย และจากการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 ทั้งหมด 1021 คน แยกเป็นกลุ่มปกติ 771 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 151 ราย กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 99 คน ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาที่เป็นข้อมูลสถิติของประเทศ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง จึงได้จัดทำโครงการคนทรายขาวห่างไกล โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีในกลุ่มปกติ และเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ยืนยันโรคในกลุ่มสงสัยป่วย และเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ในกลุ่มป่วย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต ความพิการต่างๆของผู้ป่วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง จึงได้จัดทำ “ โครงการคนทุ่งหวัง ห่างไกล โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค ”ขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและเสียชีวิต รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชาชนทั่วไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่
- เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มเสี่ยง และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- 2.) กิจกรรมกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- 3.) กิจกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 6 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- ค่าอุปกรณ์อื่นๆ
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 6 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 9,000 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30
- 4.)เครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว accu-chek 1 เครื่องๆละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท 5.)แถบตรวจน้ำตาล accu-chek กล่องๆละ 100 ชิ้น กล่องๆละ 950 บาท จำนวน 3 กล่อง (3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถลดความเสี่ยง ลดโรค ไม่ติดต่อเรื้องรัง(NCDs)
6.2 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
6.3 ลดภาวะโรคแทรกซ้อนของกลุ่มผู้ป่วย(โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง) ได้มากขึ้น
6.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเห็นถึงความสำคัญการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ (3) เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม (5) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มเสี่ยง และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (2) 2.) กิจกรรมกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (3) 3.) กิจกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 6 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (4) ค่าอุปกรณ์อื่นๆ (5) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 (6) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ (7) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 6 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 9,000 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 (8) 4.)เครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว accu-chek 1 เครื่องๆละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท 5.)แถบตรวจน้ำตาล accu-chek กล่องๆละ 100 ชิ้น กล่องๆละ 950 บาท จำนวน 3 กล่อง (3
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธนิสสรา เจ๊ะแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธนิสสรา เจ๊ะแม็ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-12 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรค NCDs ( non-communicable diseases) เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิต มีการดำเนินของโรคอย่างช้าๆ ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคไต โรคNCDs เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต และความพิการจากหลอดเลือดตีบหรือแตก (stroke) ของประชากรไทย โดยในปี พ.ศ.2566 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเหล่านี้ประมาณ 400,00 คน คิดเป็นร้อยละ 74 ของการเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งหมายความว่าในทุก ๆชั่วโมง จะมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคNCDs กว่า 45 ราย จากสถิติกรมควบคุมโรคและกรมการแพทย์ พบว่าในจำนวนนี้ โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับหนึ่ง โดยมีผู้ป่วยมากกว่า 740,000 รายต่อปี มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 70,000 ราย หรือเฉลี่ยประมาณ 8 รายต่อชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่าอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรสูงวัย ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวทำให้เกิดภาวะทุพลภาพหรือความพิการต่างๆ ลดผลิตภาพของแรงงาน นอกจากผลกระทบด้านสุขภาพแล้ว โรคNCDs ยังเป็นภาระทางเศรษฐกิจ ของประเทศอย่างมหาศาล โดยมีค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงถึง 62,138 ล้านบาท ในปี 2560 ซึ่งคิดเป็น 50 % ของงบประมาณหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในปีเดียวกัน โรคNCDsเป็นภัยคุกคามที่รุนแรงต่อสุขภาพและเศรษฐกิจของประเทศ หากไม่มีมาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ ปริมาณผู้ป่วยและภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนควรให้ความร่วมมือในการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคเหล่านี้เพื่อให้ประเทศไทยสามารถลดภาระด้านสุขภาพด้ายสุขภาพและเศรษฐกิจจาก NCDs ได้ในระยะยาว ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง มีประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปทั้งหมด 2,380 คน ป่วยเป็นโรคNCDs ที่อยู่ในพื้นที่ แยกเป็นโรคเบาหวานสะสมทั้งสิ้น 381 ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 609 ราย และจากการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 ทั้งหมด 1021 คน แยกเป็นกลุ่มปกติ 771 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน 151 ราย กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 99 คน ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาที่เป็นข้อมูลสถิติของประเทศ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง จึงได้จัดทำโครงการคนทรายขาวห่างไกล โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีในกลุ่มปกติ และเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ยืนยันโรคในกลุ่มสงสัยป่วย และเพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ในกลุ่มป่วย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต ความพิการต่างๆของผู้ป่วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหวัง จึงได้จัดทำ “ โครงการคนทุ่งหวัง ห่างไกล โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค ”ขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคและเสียชีวิต รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชาชนทั่วไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่
- เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มเสี่ยง และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- 2.) กิจกรรมกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- 3.) กิจกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 6 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน
- ค่าอุปกรณ์อื่นๆ
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ
- - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 6 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 9,000 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30
- 4.)เครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว accu-chek 1 เครื่องๆละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท 5.)แถบตรวจน้ำตาล accu-chek กล่องๆละ 100 ชิ้น กล่องๆละ 950 บาท จำนวน 3 กล่อง (3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถลดความเสี่ยง ลดโรค ไม่ติดต่อเรื้องรัง(NCDs) 6.2 ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 6.3 ลดภาวะโรคแทรกซ้อนของกลุ่มผู้ป่วย(โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง) ได้มากขึ้น 6.4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักเห็นถึงความสำคัญการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชนให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ลดความเสี่ยง ลดการเกิดโรค (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ (3) เพื่อลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า ด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการรักษาและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่ม (5) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มเสี่ยง และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (2) 2.) กิจกรรมกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 3 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มสงสัยป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (3) 3.) กิจกรรมกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กิจกรรม 6 ครั้ง เป้าหมายกลุ่มป่วย และคณะทำงาน จำนวน 30 คน (4) ค่าอุปกรณ์อื่นๆ (5) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 (6) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 3 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 4,500 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ (7) - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 คน พร้อมคณะทำงาน ( 50 บาท × 30 คน × 6 ครั้ง ) รวมเป็นเงิน 9,000 บาท - อาหารว่างระหว่างมื้อๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 30 (8) 4.)เครื่องเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว accu-chek 1 เครื่องๆละ 1,200 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท 5.)แถบตรวจน้ำตาล accu-chek กล่องๆละ 100 ชิ้น กล่องๆละ 950 บาท จำนวน 3 กล่อง (3
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคนทุ่งหวังห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ l8401-68-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธนิสสรา เจ๊ะแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......