กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM ”
ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนับ สามะ




ชื่อโครงการ โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM

ที่อยู่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พิเทน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันยังมีหญิงตั้งครรภ์จำนวนไม่น้อยที่ยังไม่เข้าใจถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว หรืออาจมีอุปสรรคบางประการที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาตามมาหลายประการ เช่น การตรวจพบความผิดปกติล่าช้า หากตรวจพบความผิดปกติของทารกในครรภ์ในระยะที่ล้ำหน้า อาจทำให้การรักษาหรือการตัดสินใจต่างๆ เป็นไปด้วยความยากลำบากมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ การไม่ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ หรือการคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจากแม่ ทำให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพและพัฒนาการในระยะยาว อัตราการเสียชีวิตของแม่และเด็ก หากมีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและไม่ได้รับการรักษาที่ทันท่วงที อาจนำไปสู่การเสียชีวิตของทั้งแม่และเด็กได้ การฝากครรภ์เร็ว หรือ EARLY ANC มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพของทั้งแม่และลูก เนื่องจากช่วยให้ ตรวจพบความผิดปกติได้เร็ว แพทย์สามารถตรวจคัดกรองโรคต่างๆ ได้ตั้งแต่เนิ่นๆ เช่น โรคธาลัสซีเมีย โรคเอดส์ และความผิดปกติของโครโมโซม ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ หากพบปัญหาสุขภาพ แพทย์สามารถให้คำแนะนำและการรักษาที่เหมาะสมได้ทันท่วงที ทำให้เตรียมตัวรับมือการเปลี่ยนแปลงได้ คุณแม่จะได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ช่วยให้ทั้งแม่และลูกมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ การฝากครรภ์เร็วเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพของทั้งแม่และลูก การส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆ จึงเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญ โดยการสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว การอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงบริการ และการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น         จากสถิติ ปี 2565 - ปี 2567 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน เขตสุขภาพที่ 12 ร้อยละ 37.94 ,23.58,36.93 ตามลำดับ (ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) ส่วนใหญ่สาเหตุของมารดาตายเกิดจากมารดาโดยตรง เช่น ความดันสูงขณะตั้งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ตกเลือดระหว่างคลอด เป็นต้น จากสถิติ ปี 2565 - ปี 2567 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ของจังหวัดปัตตานี ร้อยละ 74.53, 73.60, 79.56 ตามลำดับ ( Health Data Center จังหวัดปัตตานี) จากผลงานที่ผ่านมาในพื้นที่ตำบลพิเทน พบว่า หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ปี 2565 - ปี 2567 ร้อยละ 75.86, 72.88, 63.89 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มลดลง หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ ปี 2565 - ปี 2567 ร้อยละ 70.69, 64.41, 60.00 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มลดลง ทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ปี 2565 - ปี 2567 ร้อยละ 2.17, 2.60, 7.58 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดใน LAB ANC 1 ปี 2565 - ปี 2567 ร้อยละ 26.6, 16.6, 22.6 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดใน LAB ANC 2 ปี 2565 - ปี 2567 ร้อยละ 33.7, 32.3, 50.6 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ (รายงานความครอบคลุมงานอนามัยแม่และเด็กตำบลพิเทน) หากหญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ และตั้งครรภ์ไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง อาจส่งผลต่อการเกิดและการคลอด ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ได้ ส่งผลกระทบต่อชีวิตและครอบครัว ซึ่งการฝากครรภ์เร็วจะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เร็ว ได้รับการวินิจฉัยและส่งพบสูติแพทย์เพื่อได้การรักษาที่เหมาะสม เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน จึงได้จัดทำโครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับความสำคัญของการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การฝากครรภ์เร็วในชุมชน และการแก้ปัญหาภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกเกิดโดยการสร้างความเข้าใจทำให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจถึงความสำคัญของการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ การฝากครรภ์เร็ว เน้นการมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง และการเข้าถึงบริการ ทำให้บริการฝากครรภ์เข้าถึงได้ง่าย สะดวก และเป็นมิตร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75 2.หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 75 3.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 14


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ PITEN SMART TEEN SMART MOM จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L01-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวไซนับ สามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด