กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก
ตัวชี้วัด : โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๔
0.00

 

2 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ฝากครรภ์คุณภาพ ร้อยละ ๗๕
0.00

 

3 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ)
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 1.ร้อยละ 50 ของเด็ก 0-6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว 2.ร้อยละ 66 ของเด็ก 0-5 ปี ผ่านเกณฑ์ สูงดีสมส่วน 3.ร้อยละ 60 ของเด็ก 0-5 ปี ไม่ซีด 4.ร้อยละ 85 ของเด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 5.ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปี ได้รับการตรวจฟัน 3. 4. 5.
0.00

 

4 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนและผู้เกี่ยวข้องใน การดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย ๐-๕ ปีเด็ก (2) 2.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับแกนนำชุมชนในระพับหมู่บ้าน ในการดูแลและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ เด็ก ปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) 3.เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ให้กับสตรีตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และครูประจำศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เด็กมีสุขภาวะดี รับวัคชีนครบ พัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ไม่มีภาวะขีด และฟันดี ๓.ร้อยละ ๖๐ ของเด็ก ๐-๕ ปี ไม่ซีด ไม่ผุ) (4) 4.เพื่อให้ทีมระดับตำบลติดตามเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ในกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (5) 5.เพื่อสร้างกระแส สร้างความตระหนักเรื่องของเด็ก Smart kids ให้แก่ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่แกนนำชุมชน (อสม.ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง) และผู้ปกครองผู้ดูแลเด็ก ด้านโภชนาการ พัฒนาการ ฟัน ภาวะซีด วัคซีน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ สามีและญาติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh