โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-08-68 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-08-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง การพัฒนาคุณภาพประชาชนเริ่มตันแต่การดูแลก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตามนโยบายที่ว่า ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย การดูเริ่มตั้งแต่ในช่วงหญิงวัยเจริญพันธ์ดูแลสุขภาพ วางแผนการมีบุตรตั้งแต่เริ่มแรก โดยได้รับการดูแลให้ทานยา Folic acid ยาวิตามินชนิดนี้ อาจช่วยป้องกันการแท้งบุตร ความพิการแต่กำเนิดเกี่ยวกับสมอง และกระดูกสันหลังของทารก ที่ผ่านมาพบปัญหาความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ด้วยโรค HT DM Heart Thyroid SLE หอบ ภาวะซีด ตกเลือดหลังคลอด ทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งจะส่งพลต่อพัฒนาการ ภาวะทุพโภชนการและสติปัญญา การดูแลอย่างมีคุณภาพช่วยลดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ทั้งมารดา และทารกได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ, 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4.หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู และ 5.หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิ ปี 2567 มีหญิงตังครรภ์ทั้หมด 62 ราย มีความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ต้องส่งต่อโรงพยาบาลเจาะไอร้อง 24 ราย คิดเป็น 35.82% หญิงไทยคลอดทารกก่อนกำหนดในอำเภอเจาะไอร้อง ทั้งหมด 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.73 และเด็กแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยอำเภอเจาะไอร้อง ร้อยละ 9.24 โรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ จำนวนทารกแรกเกิด 42 ราย น้ำหนักตัวน้อยน้อย 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านปีแนมูดอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพประชาชน โดยเริ่มตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพของหญิงก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและสุขภาพทารกแรก เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ดูแลตัวเองบุตรในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ เรื่อง หญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ และ หลังคลอด มีความเสี่ยงลดลง
2.ทารกแรกเกิด มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
70.00
70.00
2
เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : - ลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
70.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง (2) เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง หญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-08-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-08-68 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-08-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ไห้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้ กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง การพัฒนาคุณภาพประชาชนเริ่มตันแต่การดูแลก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ได้รับการดูแลครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตามนโยบายที่ว่า ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย การดูเริ่มตั้งแต่ในช่วงหญิงวัยเจริญพันธ์ดูแลสุขภาพ วางแผนการมีบุตรตั้งแต่เริ่มแรก โดยได้รับการดูแลให้ทานยา Folic acid ยาวิตามินชนิดนี้ อาจช่วยป้องกันการแท้งบุตร ความพิการแต่กำเนิดเกี่ยวกับสมอง และกระดูกสันหลังของทารก ที่ผ่านมาพบปัญหาความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ด้วยโรค HT DM Heart Thyroid SLE หอบ ภาวะซีด ตกเลือดหลังคลอด ทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งจะส่งพลต่อพัฒนาการ ภาวะทุพโภชนการและสติปัญญา การดูแลอย่างมีคุณภาพช่วยลดปัญหาแทรกซ้อนต่างๆ ทั้งมารดา และทารกได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ, 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4.หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู และ 5.หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิ ปี 2567 มีหญิงตังครรภ์ทั้หมด 62 ราย มีความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ต้องส่งต่อโรงพยาบาลเจาะไอร้อง 24 ราย คิดเป็น 35.82% หญิงไทยคลอดทารกก่อนกำหนดในอำเภอเจาะไอร้อง ทั้งหมด 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.73 และเด็กแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยอำเภอเจาะไอร้อง ร้อยละ 9.24 โรงพยาบาลส่งเสรมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ จำนวนทารกแรกเกิด 42 ราย น้ำหนักตัวน้อยน้อย 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านปีแนมูดอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพประชาชน โดยเริ่มตั้งแต่การส่งเสริมสุขภาพของหญิงก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและสุขภาพทารกแรก เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ดูแลตัวเองบุตรในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ จึงได้จัดทำโครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ เรื่อง หญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ และ หลังคลอด มีความเสี่ยงลดลง 2.ทารกแรกเกิด มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : -หญิงตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง |
70.00 | 70.00 |
|
|
2 | เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม ตัวชี้วัด : - ลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม |
70.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้เกี่ยวกับการลดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง (2) เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย กว่า 2,500 กรัม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง หญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหญิงตั้งครรภ์ลดความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ลูกน้อยน้ำหนักตามเกณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-08-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......