โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-04-68 เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-04-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาใหญ่ทางด้านสุขภาพก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของร่างกายได้มากกว่าโรคอื่น ๆและเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากตัวผู้ป่วยจะต้องมีการควบคุมภาวะของโรคไม่ให้เกิดความรุนแรงมากขึ้นแล้ว ยังต้องอาศัยความร่วมมือในการดูแลรักษาร่วมกัน จากทั้งตัวผู้ป่วยเองและแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางวิชาชีพเกี่ยวกับการแพทย์ ตลอดจนญาติพี่น้องในครอบครัวและสังคมว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไร ตั้งแต่การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยาเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ของโรคเบาหวาน หรือทำให้ภาวการณ์เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง เกิดขึ้นได้ช้าลง
จากการตรวจสุขภาพประจำปี ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ, 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4.หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู และ 5.หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิในปี 2567 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 540 คน พบว่า ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีจำนวน 388 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 324 คน คิดเป็นร้อยละ 60 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 196 คน พบว่า ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 126 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ทั้งนี้จากการติดตามกลุ่มผู้ป่วยในพื้นที่ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ยังขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเอง เช่น การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการใช้ยาอย่างต่อเนื่องซึ่งปัญหานี้เกิดจากการขาดทักษะในการเข้าถึงและประเมินข้อมูลสุขภาพอย่างเหมาะสม หรือเรียกว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยเน้นการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรอบรู้ ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้นการดำเนินโครงการนี้ จึ่งมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพื่อสามารถควบคุมโรคได้ดีขึ้นและลดภาระต่อระบบสุขภาพในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง
- เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ
2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ
50.00
80.00
2
เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
50.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
70
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง (2) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-04-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-04-68 เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-04-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาใหญ่ทางด้านสุขภาพก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของร่างกายได้มากกว่าโรคอื่น ๆและเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ นอกจากตัวผู้ป่วยจะต้องมีการควบคุมภาวะของโรคไม่ให้เกิดความรุนแรงมากขึ้นแล้ว ยังต้องอาศัยความร่วมมือในการดูแลรักษาร่วมกัน จากทั้งตัวผู้ป่วยเองและแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางวิชาชีพเกี่ยวกับการแพทย์ ตลอดจนญาติพี่น้องในครอบครัวและสังคมว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไร ตั้งแต่การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยาเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ของโรคเบาหวาน หรือทำให้ภาวการณ์เกิดโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง เกิดขึ้นได้ช้าลง จากการตรวจสุขภาพประจำปี ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ, 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4.หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู และ 5.หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิในปี 2567 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 540 คน พบว่า ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีจำนวน 388 คน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี จำนวน 324 คน คิดเป็นร้อยละ 60 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 196 คน พบว่า ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 126 คน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีจำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 12.76 ทั้งนี้จากการติดตามกลุ่มผู้ป่วยในพื้นที่ พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ยังขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการดูแลตนเอง เช่น การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการใช้ยาอย่างต่อเนื่องซึ่งปัญหานี้เกิดจากการขาดทักษะในการเข้าถึงและประเมินข้อมูลสุขภาพอย่างเหมาะสม หรือเรียกว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยเน้นการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาความรอบรู้ ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้นการดำเนินโครงการนี้ จึ่งมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพื่อสามารถควบคุมโรคได้ดีขึ้นและลดภาระต่อระบบสุขภาพในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง
- เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ
2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ |
50.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน |
50.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 70 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและถูกต้อง (2) เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L2479-01-04-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวฮุสณีย์ แวกือจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......