โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาอีซะห์ โต๊ะอีแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3029-2-03 เลขที่ข้อตกลง 68-L3029-2-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3029-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งด้านอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ซึ่งในพื้นที่ตำบลประจันมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง พบปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการ คือไม่ชอบทานผัก และไม่ชอบดื่มนมรสจืด จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับเด็กเองในอนาคตข้างหน้า เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้ควรรับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน
นอกจากต้องส่งเสริมเรื่องโภชนาการ การเฝ้าระวังอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลก็สำคัญยิ่ง เพราะโดยธรรมชาติเด็กเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว เด็กมีความอยากรู้อยากเห็นและสนใจสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เป็นช่วงที่เด็กมีพัฒนาการ ด้านการเคลื่อนไหวค่อนข้างมาก เด็กจึงอยู่ไม่นิ่ง ซุกซน อยากเรียนรู้ ชอบค้นคว้า ทดลองสิ่งต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา วัยเด็กเป็นวัยแห่งพลังงาน เด็กมีพลังงานมากมายที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ตามความต้องการ วัยเด็กจึงเป็นวัยที่มีความเสี่ยงจากการได้รับอุบัติเหตุ ไม่ว่าจะเป็นเด็กแรกเกิดหรือเด็กช่วงวัยทารก อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็กวัยนี้ไม่น้อยไปกว่าวัยเด็กเล็กหรือวัยก่อนเรียน อุบัติเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการขาดความระมัดระวังของผู้เลี้ยงดูเด็กจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้นเพื่อให้การดูแลสุขภาพเด็กเป็นไปอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลเด็ก ศึกษาถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ การป้องกัน การลดความเสี่ยงภัยจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ช่วยให้เด็กได้รับการคุ้มครองไม่ให้เด็กได้รับบาดเจ็บ หรือเกิดความพิการ เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ปลอดภัย ปราศจากอันตรายและมีสุขภาพดี การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ขณะนั้น นำมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น ควรทำการปฐมพยาบาลให้เร็วที่สุดหลังเกิดเหตุโดยอาจทำได้ในทันที หรือระหว่างการนำผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาลหรือสถานที่รักษาพยาบาลอื่นๆ เพื่อช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วย หรืออาการบาดเจ็บนั้นๆ ก่อนที่ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือถูกนำส่งไปยังโรงพยาบาล
ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน จึงเล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็กขึ้น เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ทราบถึงความสำคัญเรื่องโภชนาการและมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกวิธีตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
- กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลประจัน
- กิจกรรมให้ความรู้การส่งเสริมโภชนาการและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
125
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ตามมาตรฐานการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการเฝ้าระวังการเกิดภาวะโภชนาการการขาดสารอาหารในเด็ก
2. มีการขับเคลื่อนการจัดการและการแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม และอ้วนในเด็กปฐมวัย
3. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านประจันมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีน้ำหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
4. ครูผู้ปกครองเกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการป้องกันและแก้ไขหากเกิดอุบัติเหตุขึ้นและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในเด็กปฐมวัย
5. ลดอัตราความรุนแรงของอาการบาดเจ็บให้ลดน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
125
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
125
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 (2) กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลประจัน (3) กิจกรรมให้ความรู้การส่งเสริมโภชนาการและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3029-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปาอีซะห์ โต๊ะอีแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาอีซะห์ โต๊ะอีแม
เมษายน 2568
ที่อยู่ องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3029-2-03 เลขที่ข้อตกลง 68-L3029-2-03
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วน ตำบลประจัน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3029-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งด้านอาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ซึ่งในพื้นที่ตำบลประจันมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง พบปัญหาเกี่ยวกับโภชนาการ คือไม่ชอบทานผัก และไม่ชอบดื่มนมรสจืด จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับเด็กเองในอนาคตข้างหน้า เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้ควรรับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้าน และศูนย์เด็ก และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน
นอกจากต้องส่งเสริมเรื่องโภชนาการ การเฝ้าระวังอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลก็สำคัญยิ่ง เพราะโดยธรรมชาติเด็กเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว เด็กมีความอยากรู้อยากเห็นและสนใจสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว เป็นช่วงที่เด็กมีพัฒนาการ ด้านการเคลื่อนไหวค่อนข้างมาก เด็กจึงอยู่ไม่นิ่ง ซุกซน อยากเรียนรู้ ชอบค้นคว้า ทดลองสิ่งต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา วัยเด็กเป็นวัยแห่งพลังงาน เด็กมีพลังงานมากมายที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ตามความต้องการ วัยเด็กจึงเป็นวัยที่มีความเสี่ยงจากการได้รับอุบัติเหตุ ไม่ว่าจะเป็นเด็กแรกเกิดหรือเด็กช่วงวัยทารก อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็กวัยนี้ไม่น้อยไปกว่าวัยเด็กเล็กหรือวัยก่อนเรียน อุบัติเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการขาดความระมัดระวังของผู้เลี้ยงดูเด็กจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้นเพื่อให้การดูแลสุขภาพเด็กเป็นไปอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลเด็ก ศึกษาถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ การป้องกัน การลดความเสี่ยงภัยจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ช่วยให้เด็กได้รับการคุ้มครองไม่ให้เด็กได้รับบาดเจ็บ หรือเกิดความพิการ เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ปลอดภัย ปราศจากอันตรายและมีสุขภาพดี การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ขณะนั้น นำมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น ควรทำการปฐมพยาบาลให้เร็วที่สุดหลังเกิดเหตุโดยอาจทำได้ในทันที หรือระหว่างการนำผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาลหรือสถานที่รักษาพยาบาลอื่นๆ เพื่อช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วย หรืออาการบาดเจ็บนั้นๆ ก่อนที่ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือถูกนำส่งไปยังโรงพยาบาล
ดังนั้น เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลประจัน จึงเล็งเห็นความสำคัญจึงจัดทำโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็กขึ้น เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ทราบถึงความสำคัญเรื่องโภชนาการและมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ถูกวิธีตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568
- กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลประจัน
- กิจกรรมให้ความรู้การส่งเสริมโภชนาการและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 125 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ตามมาตรฐานการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และสามารถปฏิบัติตามมาตรฐานการเฝ้าระวังการเกิดภาวะโภชนาการการขาดสารอาหารในเด็ก
2. มีการขับเคลื่อนการจัดการและการแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม และอ้วนในเด็กปฐมวัย
3. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านประจันมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีน้ำหนักและส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
4. ครูผู้ปกครองเกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการป้องกันและแก้ไขหากเกิดอุบัติเหตุขึ้นและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในเด็กปฐมวัย
5. ลดอัตราความรุนแรงของอาการบาดเจ็บให้ลดน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 125 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 125 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 (2) กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลประจัน (3) กิจกรรมให้ความรู้การส่งเสริมโภชนาการและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฝึกอบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพครู และผู้ดูแลเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3029-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปาอีซะห์ โต๊ะอีแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......