กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุวรรณา หมันสนิท ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนบาลาเซาะห์




ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-02 เลขที่ข้อตกลง 25/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,815.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่นำไปสู่ภาระที่มากขึ้นทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ความต้องการมาตรการเร่งด่วนในการแก้ปัญหา ให้ความสำคัญต่อการคัดกรอง ดูแลรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและฟื้นฟูสุขภาพเชิงรุก ที่มีคุณภาพและครอบคลุมประชากรทั้งในระดับบุคคลและชุมชน จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ระบุว่า โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลก และในเอเชียพบจำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้มากที่สุด โดยสูงถึง 58% ของจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจากทั่วโลก หรือเป็นจำนวน 10.8 ล้านคน  ขณะที่ประเทศไทย พบผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด เฉลี่ยชั่วโมงละ 7 คน หรือ 58,681 คนต่อปี และอัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข) จากข้อมูลดังกล่าวอาสาสมัครสาธารณสุขศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประกอบด้วย ๑๐ ชุมชน ได้แก่ ชุมชน วชิราทะเลหลวงดอกรักษ์, ชุมชนวชิราซอยคี่, ชุมชนวชิราทะเลหลวง, ชุมชนวชิราซอยคู่, ชุมชนพิเศษทหารเรือ, ชุมชนพิเศษ ตชด., ชุมชนเก้าเส้ง, ชุมชนบาลาเซาะห์, ชุมชนหลัง รพ.จิตเวช, ชุมชนสนามบิน มีประชากรทั้งหมด 8,056 คน ผลการคัดกรองโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ในปี ๒๕67 เป้าหมาย 3,403 คน ผลการคัดกรอง จำนวน 3,291 คน คิดเป็นร้อยละ 96.71 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 33 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.01 และกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.36 ซึ่งทั้ง 2 กลุ่ม ได้ให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยหลัก 3 อ 2 ส และติดตามผล 3 ครั้ง สำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงแนะนำให้เข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์อีกครั้ง ซึ่งถือว่าผลการคัดกรองพบมีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยเป็นโรค สูง ทั้ง 2 โรค ฉะนั้น การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จึงได้เห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชน อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ให้ห่างไกลจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และให้มีคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเพื่อสร้างความตระหนักให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ดูแลสุขภาพของตนเอง รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุต้องมีการคัดกรอง 9 ด้าน เพิ่มจากวัยทำงาน เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาสาสมัครสาธารณสุขศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ได้จัดทำโครงการ สุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ใน ๑๐ ชุมชน เน้นให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพได้ ลดเสี่ยง ลดโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในระยะยาวได้ และผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนทั้ง ๑๐ ชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชน
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองตามมาตรฐาน 9 ด้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงอสม และติดตามประเมินผลคัดกรองสุขภาพ กลุ่ม 35 ปี ขึ้นไป
  2. กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสุขภาพ
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  4. ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด
  5. ค่าวัสดุสตริปพร้อมเข็มตรวจน้ำตาลในเลือด
  6. ค่าวัสดุครุภัณฑ์
  7. ค่าสำลีแอลกอฮอร์
  8. ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการคัดกรอง
  9. ค่าเข้าเล่มเอกสาร
  10. ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 500
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปทั้ง ๑๐ ชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เพื่อการมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรอง 9 ด้าน สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนทั้ง ๑๐ ชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชน 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองสุขภาพ ร้อยละ 90
90.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองตามมาตรฐาน 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองตามมาตรฐาน 9 ด้าน ร้อยละ 80
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 500
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนทั้ง ๑๐ ชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในชุมชน (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองตามมาตรฐาน 9 ด้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงอสม และติดตามประเมินผลคัดกรองสุขภาพ กลุ่ม 35 ปี ขึ้นไป (2) กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสุขภาพ (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด (5) ค่าวัสดุสตริปพร้อมเข็มตรวจน้ำตาลในเลือด (6) ค่าวัสดุครุภัณฑ์ (7) ค่าสำลีแอลกอฮอร์ (8) ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการคัดกรอง (9) ค่าเข้าเล่มเอกสาร (10) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี มีสุข ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในชุมชนศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุวรรณา หมันสนิท ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนบาลาเซาะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด