กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาวฟา ยีเฮ็ง




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-01-09-68 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2479-01-09-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่พบว่ามีการเกิดโรคขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหน้าฝน ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคกับประชาชนทุกกลุ่มอายุ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นไม่ถูกต้อง อาจนำไปสู่ภาวะเสี่ยงในผู้ป่วยบางรายถึงขั้นเสียชีวิต โดยเฉพาะในรายที่เป็นโรคไข้เลือดออก ที่มีการรั่วซึมของพลาสมา ในขณะป่วยที่เข้าสู่ระยะช็อก ดังนั้นโรคไข้เลือดออกจึงนับได้ว่าเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ อีกทั้งเป็นการสร้างความตระหนักในการดูแลตนเองของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยตัวเอง สืบเนื่องจากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2563 –ปี 2567) พบว่าอำเภอเจาะไอร้องมีอัตราป่วยที่เกินเกณฑ์ค่ามัธยฐาน (เกิน 50 ต่อแสนประชากร) และปี2567 อำเภอเจาะไอร้อง พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 306 คน คิดเป็นอัตราป่วย 742.32 ต่อแสนประชากร พบว่าสูงเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงกำหนด และปี2567 พบผู้ป่วยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านปีแนมูดอ พบผู้ป่วยทั้งหมด จำนวน 87 ราย (ผู้ป่วยยืนยัน,ผู้ป่วยเข้าข่าย,ผู้ป่วยสงสัย) โดยแยกเป็นผู้ป่วยยืนยัน 37 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 742.08 ต่อแสนประชากรได้แก่ หมู่ที่ 6 บ้านปาตาบาเซ 4 ราย หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง 13 ราย หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ 6 ราย หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู 5 ราย และหมู่ที่ 12 บ้านบูเกะกือจิ 9 ราย ซึ่งสูงกว่าเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงกำหนด และสามารถคาดการณ์ได้ว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก อาจจะมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น หากชุมชนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง และโรคไข้เลือดออกมีการระบาดทุกๆปีในพื้นที่ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการป่วยการตายจากโรคดังกล่าว จะต้องดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และจะต้องมีการพ่นเคมีเพื่อควบคุมโรคตามความเหมาะสมของพื้นที่ จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ, 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4.หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารู และ 5.หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาจึงได้มีการจัดโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น โดยต้องอาศัยความร่วมมือและการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายแกนนำอาสาพัฒนาสาธารณสุขแกนนำชุมชนโรงเรียน หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เป็นต้น เพื่อให้มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง และร่วมรณรงค์ป้องกัน ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยที่เกิดขึ้น และร่วมกันดูแลชุมชนให้สะอาด ห่างไกลจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรม : อบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับ โรคไข้เลือดออก
2.ลดอัตราการเกิด โรคไข้เลือดออก ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ลดลงร้อยละ 5
50.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรม : อบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2479-01-09-68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาวฟา ยีเฮ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด