โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ มุณีแนม ตำแหน่ง ประธานชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla)
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-30 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมีภูมิต้านทานโรค เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันมีหลายปัจจัยที่ส่งผลให้สภาพร่างกายทรุดโทรม หลายคน มองข้ามการออกกำลังกาย หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถ ในชีวิตประจําวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลง และอาจจะประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเครียด และโรคที่มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ที่ไม่ ถูกต้องต่างๆ ดังนั้นการออกกำลังกายเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับชีวิตของคนเรา นอกจากเพื่อสุขภาพที่ดีห่างไกลความเจ็บป่วย มีภูมิต้านทานโรคแล้ว ยังลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาล เป็นการส่งเสริมให้ ผู้เข้าร่วมการออกกําลังกายได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั้งเป็นการเสริมสร้างความรักความสามัคคีและ สัมพันธภาพที่ดีต่อกันของสมาชิกการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่ส่งผลให้สุขภาพกายและ จิตใจสมบูรณ์แข็งแรง ดังนั้น ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จึงได้จัดทำโครงการอบรมการเต้นไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) ขึ้น เพื่อให้สมาชิกได้มีการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ สมาชิก เกิดความตระหนัก ความตื่นตัวในการออกกำลังกาย เห็นความสําคัญและ ประโยชน์ของการออกกําลังกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ จำนวน 2 วัน
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าชุดเครื่องเสียง(ใช้ในการอบรมและใช้ในกิจกรรมของชมรมฯ)
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าป้ายไวนิล
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น
- ค่าเอกสารสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถช่วยพัฒนาสมรรถภาพร่างกายให้มีสุขภาพแข็งแรง และจากการได้ขยับร่างกายยังช่วยส่งผลดีต่อสมองและความจำ
- การเคลื่อนไหวระหว่างเต้นช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นและลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าร่วมการเต้นแบบกลุ่มนั้น จะแสดงอาการที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในจำนวนที่น้อยลง
- พัฒนาสุขภาวะทางสังคมและอารมณ์ การเรียนเต้นคือวิธีที่ดีที่สุดในการหาเพื่อนใหม่และ ขยายวงสังคมของเรา การมีความสัมพันธ์ที่ดีคือปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่สุขภาพจิตที่ดีกว่า และยังช่วยเพิ่มความสุข ลดความเครียด หรือแม้กระทั่งนำไปสู่ระบบภูมิคุ้มกันที่ดีขึ้นกว่าเดิม
- ผู้เข้ารับการอบรมได้รับประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น หลังจากที่ได้รับการอบรม ซึ่งจะส่งผลทำให้ผู้เข้าร่วมอบรม นำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรมไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น
80.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงขึ้น
70.00
3
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์
70.00
4
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จาก การฝึกอบรมไปใช้ ให้เกิดประโยชน์
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน (4) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ จำนวน 2 วัน (2) ค่าอาหารกลางวัน (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) ค่าชุดเครื่องเสียง(ใช้ในการอบรมและใช้ในกิจกรรมของชมรมฯ) (5) ค่าตอบแทนวิทยากร (6) ค่าป้ายไวนิล (7) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น (8) ค่าเอกสารสรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอาภรณ์ มุณีแนม ตำแหน่ง ประธานชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาภรณ์ มุณีแนม ตำแหน่ง ประธานชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-30 เลขที่ข้อตกลง 31/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การออกกำลังกายเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งต่อการมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ รวมทั้งมีภูมิต้านทานโรค เนื่องจากสภาพสังคมปัจจุบันมีหลายปัจจัยที่ส่งผลให้สภาพร่างกายทรุดโทรม หลายคน มองข้ามการออกกำลังกาย หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถ ในชีวิตประจําวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลง และอาจจะประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเครียด และโรคที่มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน ที่ไม่ ถูกต้องต่างๆ ดังนั้นการออกกำลังกายเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับชีวิตของคนเรา นอกจากเพื่อสุขภาพที่ดีห่างไกลความเจ็บป่วย มีภูมิต้านทานโรคแล้ว ยังลดภาระค่าใช้จ่ายในด้านการรักษาพยาบาล เป็นการส่งเสริมให้ ผู้เข้าร่วมการออกกําลังกายได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั้งเป็นการเสริมสร้างความรักความสามัคคีและ สัมพันธภาพที่ดีต่อกันของสมาชิกการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่ส่งผลให้สุขภาพกายและ จิตใจสมบูรณ์แข็งแรง ดังนั้น ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จึงได้จัดทำโครงการอบรมการเต้นไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) ขึ้น เพื่อให้สมาชิกได้มีการออกกำลังกายด้วยการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ อย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ สมาชิก เกิดความตระหนัก ความตื่นตัวในการออกกำลังกาย เห็นความสําคัญและ ประโยชน์ของการออกกําลังกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน
- เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ จำนวน 2 วัน
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าชุดเครื่องเสียง(ใช้ในการอบรมและใช้ในกิจกรรมของชมรมฯ)
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าป้ายไวนิล
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น
- ค่าเอกสารสรุปโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สามารถช่วยพัฒนาสมรรถภาพร่างกายให้มีสุขภาพแข็งแรง และจากการได้ขยับร่างกายยังช่วยส่งผลดีต่อสมองและความจำ
- การเคลื่อนไหวระหว่างเต้นช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นและลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าร่วมการเต้นแบบกลุ่มนั้น จะแสดงอาการที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในจำนวนที่น้อยลง
- พัฒนาสุขภาวะทางสังคมและอารมณ์ การเรียนเต้นคือวิธีที่ดีที่สุดในการหาเพื่อนใหม่และ ขยายวงสังคมของเรา การมีความสัมพันธ์ที่ดีคือปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่สุขภาพจิตที่ดีกว่า และยังช่วยเพิ่มความสุข ลดความเครียด หรือแม้กระทั่งนำไปสู่ระบบภูมิคุ้มกันที่ดีขึ้นกว่าเดิม
- ผู้เข้ารับการอบรมได้รับประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น หลังจากที่ได้รับการอบรม ซึ่งจะส่งผลทำให้ผู้เข้าร่วมอบรม นำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรมไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงขึ้น |
70.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ |
70.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้จาก การฝึกอบรมไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการส่งเสริมสุขภาพ ร่างกายและการดูแลตนเองโดยการออกกำลังกายแบบ การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะเสี่ยงจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสมัครสมาน สามัคคี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ ซึ่งกันและกัน (4) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้มาจากการ ฝึกอบรม ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัว และสังคมต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ จำนวน 2 วัน (2) ค่าอาหารกลางวัน (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4) ค่าชุดเครื่องเสียง(ใช้ในการอบรมและใช้ในกิจกรรมของชมรมฯ) (5) ค่าตอบแทนวิทยากร (6) ค่าป้ายไวนิล (7) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็น (8) ค่าเอกสารสรุปโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมการเต้นลีลาศไลน์แด้นซ์ เพื่อสุขภาพ ชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา (Fantik Dance Club Songkhla) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอาภรณ์ มุณีแนม ตำแหน่ง ประธานชมรมแฟรนติคแด้นซ์ สงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......