โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอธิตยา สีดำ (ครู)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-28 เลขที่ข้อตกลง 27/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษาเป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพที่ดีให้แก่นักเรียน โรงเรียนนับว่าเป็นสถานที่รวมของคนจำนวนมาก ประกอบด้วยนักเรียน ครู และบุคลากรอื่น ๆ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่มีจำนวนมากซึ่งมาจากที่ต่าง ๆ กัน มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไปทำให้สามารถพบการเจ็บป่วยที่แตกต่างกันในเด็กนักเรียนซึ่งมีตั้งแต่อาการเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนถึงขั้นรุนแรงและอุบัติเหตุต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นได้เสมอในโรงเรียน การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานเป็นความรู้ที่มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับตัวนักเรียนเพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในการช่วยเหลือตนเอง และคนรอบข้างได้อย่างถูกต้องและทันท่วงที และในปัจจุบันพบว่าปัญหาโรคติดต่อมีแนวโน้มสูงขึ้น โรคติดต่อเป็นโรคที่จะต้องมีการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย โดยเฉพาะในสถานศึกษา การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา นับว่าเป็นสิ่งสำคัญเพราะในสถานศึกษามีกลุ่มคนเป็นกลุ่มก้อน เมื่อมีโรคระบาดหรือโรคติดต่อ จะทำให้กระทบกับระบบการเรียนการสอน และจะต้องหยุดเรียนเป็นเวลานาน การป้องกันก่อนการเกิดโรคเป็นสิ่งที่ดีเป็นการป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคเป็นจำนวนมากขึ้น ซึ่งโรคติดต่อที่จะต้องมีการเฝ้าระวังและป้องกันในสถานศึกษา ได้แก่ โรคมือเท้าปาก โรคอีสุกอีใส โรคตาแดง โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ตลอดจนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือมีนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมลึก ทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายรวมทั้งอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวาน ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลช่องปากด้วยตนเองไม่ถูกวิธีและขาดการเอาใจใส่ต่อสุขภาพช่องปากของตนเอง โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
โรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่าง ๆ และการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพขึ้น ให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ จำนวน 103 คน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียน นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
- 1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน
- 1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
103
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.๑ นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพ มีการปฏิบัติสุขอนามัยที่ถูกต้อง มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
7.2 การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียนลดลง
7.3 นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
ตัวชี้วัด :
2
1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
3
1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
103
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
103
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) 1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน (3) 1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอธิตยา สีดำ (ครู) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอธิตยา สีดำ (ครู)
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-28 เลขที่ข้อตกลง 27/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-2-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษาเป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพที่ดีให้แก่นักเรียน โรงเรียนนับว่าเป็นสถานที่รวมของคนจำนวนมาก ประกอบด้วยนักเรียน ครู และบุคลากรอื่น ๆ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนที่มีจำนวนมากซึ่งมาจากที่ต่าง ๆ กัน มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมสภาพแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยที่แตกต่างกันไปทำให้สามารถพบการเจ็บป่วยที่แตกต่างกันในเด็กนักเรียนซึ่งมีตั้งแต่อาการเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนถึงขั้นรุนแรงและอุบัติเหตุต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นได้เสมอในโรงเรียน การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานเป็นความรู้ที่มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับตัวนักเรียนเพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ในการช่วยเหลือตนเอง และคนรอบข้างได้อย่างถูกต้องและทันท่วงที และในปัจจุบันพบว่าปัญหาโรคติดต่อมีแนวโน้มสูงขึ้น โรคติดต่อเป็นโรคที่จะต้องมีการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย โดยเฉพาะในสถานศึกษา การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา นับว่าเป็นสิ่งสำคัญเพราะในสถานศึกษามีกลุ่มคนเป็นกลุ่มก้อน เมื่อมีโรคระบาดหรือโรคติดต่อ จะทำให้กระทบกับระบบการเรียนการสอน และจะต้องหยุดเรียนเป็นเวลานาน การป้องกันก่อนการเกิดโรคเป็นสิ่งที่ดีเป็นการป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคเป็นจำนวนมากขึ้น ซึ่งโรคติดต่อที่จะต้องมีการเฝ้าระวังและป้องกันในสถานศึกษา ได้แก่ โรคมือเท้าปาก โรคอีสุกอีใส โรคตาแดง โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ตลอดจนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือมีนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมลึก ทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายรวมทั้งอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวาน ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลช่องปากด้วยตนเองไม่ถูกวิธีและขาดการเอาใจใส่ต่อสุขภาพช่องปากของตนเอง โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
โรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่าง ๆ และการดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการเยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพขึ้น ให้แก่นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ จำนวน 103 คน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียน นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
- 1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน
- 1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 103 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.๑ นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพ มีการปฏิบัติสุขอนามัยที่ถูกต้อง มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
7.2 การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียนลดลง
7.3 นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 103 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 103 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.๑ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือ สนับสนุนการสร้างสุขอนามัยที่ถูกต้อง ส่งเสริมและป้องกันโรคให้แก่นักเรียนให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) 1.2 เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อภายในโรงเรียน (3) 1.3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านลำปลอกเหนือสามารถปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตเบื้องต้นได้ และสามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันพร้อมทั้งช่วยเหลือผู้คนรอบข้างได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ “ เยาวชนวัยใส ใส่ใจสุขภาพ ” ปีงบประมาณ ๒๕๖8 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-2-28
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอธิตยา สีดำ (ครู) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......