โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 ”
ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L6959-68-1-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L6959-68-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก
เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะคลอดก่อนกำหนด ปัญหาสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อตั้งครรภ์ลทารกในครรภ์ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็กในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด และหลังคลอด
จากรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่า จำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์มีจำนวนทั้งสิ้น 87 คน ซึ่งร้อยละ 91.23 มารับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 88.89 มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ และร้อยละ 15.25 มีภาวะโลหิตจางครั้งแรกที่มารับบริการฝากครรภ์ร้อยละ 13.73มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไปร้อยละ 3.44มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 3 จากการตรวจ ณ ห้องคลอดซึ่งในตัวชี้วัดระดับจังหวัดได้กำหนดอัตราภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 14 จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเกิดภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ 16.64 จากจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ทั้งหมด และการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากและการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ สุขภาพโดยรวม สำหรับหญิงตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่มีโอกาสพบปัญหาสุขภาพช่องปาก จากการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาและฮอร์โมน หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์มี ความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ สุขภาพของเด็กในครรภ์และการคลอด โรคฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมการแปรงฟัน การรับประทานอาหาร และปัจจัยอื่น ๆ ร่วมกับการเข้าถึงบริการของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ต่ำ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ในเขตลุโบะสาวอได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ร้อยละ 96.55 พบปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์82 คน ร้อยละ 94.25 ได้รับการขัดทำความสะอาดฟัน (ไตรมาส 4 ) 48 คน ร้อยละ 55.17ดังนั้นการให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ หลังคลอดและการดูแล เด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญ เป็นรากฐานให้เกิดการมีสุขภาพช่องปากและสุขภาวะที่ดี ตลอดจนลดโอกาส เกิดปัญหาสุขภาพช่องปากและการสูญเสียฟันในอนาคตได้
เพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพทุกประเภทที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอด และหลัง
คลอด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอจึงมีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการในการดูแลหญิงมีครรภ์ โดยต้องได้รับการดูแลฝากครรภ์ระหว่างตั้งครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ หญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ครบถ้วนตามเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีประสิทธิภาพ ได้รับการตรวจและขัดทำความสะอาดฟันในหญิงตั้งครรภ์ทุกคน ซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตมารดาและทารกมีสุขภาพดีตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์ จนถึงสิ้นสุดการตั้งครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
- เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการตั้งครรภ์ในทรรศนะของศาสนาอิสลาม
- กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงมีครรภ์รับรู้และตระหนักถึงภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ และสามารถเข้ารับบริการดูแลโดย
เจ้าหน้าที่ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข คือ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพก่อนคลอด นอกจากนี้ยังสามารถลดอัตรามารดามีภาวะโลหิตจางและอัตราป่วยตายของทารกแรกคลอดอีกด้วย พร้อมด้วยหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปาก และสามารถไปปฏิบัติในตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
ตัวชี้วัด :
0.00
5
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร
ตัวชี้วัด :
0.00
6
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที (3) เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์ (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร (6) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการตั้งครรภ์ในทรรศนะของศาสนาอิสลาม (2) กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L6959-68-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 ”
ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L6959-68-1-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L6959-68-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะคลอดก่อนกำหนด ปัญหาสุขภาพช่องปากที่ส่งผลกระทบต่อตั้งครรภ์ลทารกในครรภ์ เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็กในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด และหลังคลอด จากรายงานการดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่า จำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์มีจำนวนทั้งสิ้น 87 คน ซึ่งร้อยละ 91.23 มารับบริการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 88.89 มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ และร้อยละ 15.25 มีภาวะโลหิตจางครั้งแรกที่มารับบริการฝากครรภ์ร้อยละ 13.73มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 2 เมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไปร้อยละ 3.44มีภาวะโลหิตจางครั้งที่ 3 จากการตรวจ ณ ห้องคลอดซึ่งในตัวชี้วัดระดับจังหวัดได้กำหนดอัตราภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 14 จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการทั้งหมด นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเกิดภาวะโลหิตจาง คิดเป็นร้อยละ 16.64 จากจำนวนหญิงมีครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ทั้งหมด และการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พบว่าปัญหาสุขภาพช่องปากและการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ สุขภาพโดยรวม สำหรับหญิงตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์เป็นช่วงเวลาที่มีโอกาสพบปัญหาสุขภาพช่องปาก จากการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาและฮอร์โมน หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์มี ความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ สุขภาพของเด็กในครรภ์และการคลอด โรคฟันผุยังคงเป็นปัญหาสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมการแปรงฟัน การรับประทานอาหาร และปัจจัยอื่น ๆ ร่วมกับการเข้าถึงบริการของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ต่ำ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ในเขตลุโบะสาวอได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ร้อยละ 96.55 พบปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์82 คน ร้อยละ 94.25 ได้รับการขัดทำความสะอาดฟัน (ไตรมาส 4 ) 48 คน ร้อยละ 55.17ดังนั้นการให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์ หลังคลอดและการดูแล เด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญ เป็นรากฐานให้เกิดการมีสุขภาพช่องปากและสุขภาวะที่ดี ตลอดจนลดโอกาส เกิดปัญหาสุขภาพช่องปากและการสูญเสียฟันในอนาคตได้ เพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพทุกประเภทที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอด และหลัง คลอด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลุโบะสาวอจึงมีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการในการดูแลหญิงมีครรภ์ โดยต้องได้รับการดูแลฝากครรภ์ระหว่างตั้งครรภ์โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ หญิงมีครรภ์มาฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ครบถ้วนตามเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดและมีประสิทธิภาพ ได้รับการตรวจและขัดทำความสะอาดฟันในหญิงตั้งครรภ์ทุกคน ซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตมารดาและทารกมีสุขภาพดีตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ์ จนถึงสิ้นสุดการตั้งครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
- เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการตั้งครรภ์ในทรรศนะของศาสนาอิสลาม
- กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หญิงมีครรภ์รับรู้และตระหนักถึงภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ และสามารถเข้ารับบริการดูแลโดย เจ้าหน้าที่ตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข คือ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพก่อนคลอด นอกจากนี้ยังสามารถลดอัตรามารดามีภาวะโลหิตจางและอัตราป่วยตายของทารกแรกคลอดอีกด้วย พร้อมด้วยหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปาก และสามารถไปปฏิบัติในตนเองและบุตรได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
6 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดอย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้หญิงมีครรภ์รายใหม่ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที (3) เพื่อช่วยลดอัตราป่วยตายและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนในระยะของการตั้งครรภ์ (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย (5) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/สามีและผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีมีความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองและบุตร (6) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้ทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเองและรับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์ เรื่องการตั้งครรภ์ในทรรศนะของศาสนาอิสลาม (2) กิจกรรมที่ ๒ จ่ายอาหารเสริมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางและเสี่ยงต่อทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสายใยรักผูกพันธ์ คุณแม่สุขภาพดีลูกร่างกายแข็งแรง ตำบลลุโบะสาวอ ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L6959-68-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฟารีดะห์ ฮาแวมาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......