โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ”
ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวคอรีเย๊าะ ปูเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE
ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4136-2-12 เลขที่ข้อตกลง 015/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4136-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการ "TO BE NUMBER ONE" เป็นโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติ ที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หากเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดแล้ว ย่อมนำความเสียหายมายังตัวเยาวชน ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติอย่างมาก ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จึงทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ใน
กลุ่มเยาวชนเป็นเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมทั้งแสดงพลังอย่างถูกต้องเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิตด้วยการจัดตั้งชมรม “TO BE NUMBER ONE”ในสถานศึกษา ใน
ชุมชนและสถานประกอบการ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑การรณรงค์เพื่อปลุกจิตสำนึก และสร้างกระแสที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายใต้แนวคิดการสร้างกระแส “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด”โดยผ่านสื่อและการจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างสรรค์ต่างๆ เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเองกิจกรรมในยุทธศาสตร์นี้ได้แก่การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อการจัดกิจกรรมรณรงค์ในหลากหลายรูปแบบการสนับสนุนการรวมตัวกันของสมาชิก TOBENUMBER ONEโดยการจัดตั้งเป็นชมรมTOBENUMBER ONE ที่ประกอบด้วย กรรมการ กองทุนและกิจกรรม เป็นสิ่งแสดงถึงศักยภาพของชมรมด้วยการรวบรวมคนดี คนเก่งและคนที่มีอุดมคติ ที่จะสร้างกิจกรรมดีๆร่วมกัน เพื่อกระตุ้นปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและเป็นการรวมพลังสมาชิก TOBENUMBER ONEให้เกิดขวัญกำลังใจมีความเข้มแข็งของจิตใจแก่สมาชิกทั้งประเทศในอันที่จะร่วมแรงร่วมใจกันต่อต้านและป้องกัน ผลักดันให้ยาเสพติดพ้นออกไปจากชุมชนและสังคมไทยโดยเร็ว เพื่อเยาวชนคนไทยจะได้ปลอดภัยจากยาเสพติดตลอดไปด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดประกวดกิจกรรมในโครงการให้มีความหลากหลายและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่๒การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ประกอบด้วย ๒กิจกรรมคือ
กิจกรรมที่ ๑ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชนได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยีการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน การอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการจัดกิจกรรม
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชน การใช้เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มแกนนำเยาวชน และการสนับสนุนให้แกนนำเยาวชนที่ผ่านการอบรมดำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางจิตให้เยาวชนในชุมชน
กิจกรรมที่ ๒ โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น (TO BE NUMBER ONEFRIEND CORNER) กิจกรรม ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในชุมชนเมืองชุมชนชนบทสถานศึกษาและสถานประกอบการ ภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์สร้างสุขแก้ไขปัญหา พัฒนา EQ” โดยจัดให้มีบริการให้คำปรึกษา(Counseling) บริการฝึกแก้ปัญหา พัฒนา EQ ทั้งด้วยตนเอง กิจกรรมกลุ่มและบริการกิจกรรมเสริมทักษะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขด้วยการเสริมสร้างสุขภาพให้แก่วัยรุ่นและเยาวชนด้วยกิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะโดยศิลปินดารา นักกีฬาที่มีชื่อเสียง และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญอื่นๆในศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นซึ่งปัจจุบันได้มีการขยายกลุ่มเป้าหมายไปในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนและศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และทัณฑสถาน กระทรวงยุติธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เน้นการสร้างและพัฒนาเครือข่ายสมาชิกเพื่อให้การร่วมมือร่วมใจป้องกันปัญหายาเสพติดมีความต่อเนื่องและยั่งยืน ในรูปแบบของการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ผลผลิตจากการดำเนิน
ตามยุทธศาสตร์ ที่สำคัญผลผลิตหนึ่งคือ การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE เรียนรู้ระหว่างชมรมทั้งภายในและภายนอกจังหวัด ย่อมเป็นกิจกรรมสำคัญที่จะเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับสมาชิกชมรม TOBE
NUMBER ONE ให้มีโอกาสสร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้มีมากขึ้น อันจะเป็นการพัฒนาแนวคิดการพัฒนาให้กับเยาวชน ให้เปิดมุมมองที่กว้างออกไปจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับจังหวัด ภูมิภาคและระดับชาติ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
60
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) นักเรียนได้รับโอกาสการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันสารเสพติด
2) นักเรียนได้เพิ่มพูนทักษะ การฝึกทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหาและพัฒนาภาวะความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ
3) นักเรียนตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด
4) ชุมชนมีความเข้มแข็งมีกระบวนการเอาชนะยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
60
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4136-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวคอรีเย๊าะ ปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ”
ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวคอรีเย๊าะ ปูเต๊ะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4136-2-12 เลขที่ข้อตกลง 015/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4136-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการ "TO BE NUMBER ONE" เป็นโครงการรณรงค์และแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติ ที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดมีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ ทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หากเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติดแล้ว ย่อมนำความเสียหายมายังตัวเยาวชน ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติอย่างมาก ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี จึงทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ใน
กลุ่มเยาวชนเป็นเป้าหมายหลัก โดยกลวิธีสร้างกระแสการไม่ข้องแวะกับยาเสพติด รวมทั้งแสดงพลังอย่างถูกต้องเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิตด้วยการจัดตั้งชมรม “TO BE NUMBER ONE”ในสถานศึกษา ใน
ชุมชนและสถานประกอบการ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การดำเนินงาน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑การรณรงค์เพื่อปลุกจิตสำนึก และสร้างกระแสที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายใต้แนวคิดการสร้างกระแส “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด”โดยผ่านสื่อและการจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างสรรค์ต่างๆ เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเองกิจกรรมในยุทธศาสตร์นี้ได้แก่การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อการจัดกิจกรรมรณรงค์ในหลากหลายรูปแบบการสนับสนุนการรวมตัวกันของสมาชิก TOBENUMBER ONEโดยการจัดตั้งเป็นชมรมTOBENUMBER ONE ที่ประกอบด้วย กรรมการ กองทุนและกิจกรรม เป็นสิ่งแสดงถึงศักยภาพของชมรมด้วยการรวบรวมคนดี คนเก่งและคนที่มีอุดมคติ ที่จะสร้างกิจกรรมดีๆร่วมกัน เพื่อกระตุ้นปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและเป็นการรวมพลังสมาชิก TOBENUMBER ONEให้เกิดขวัญกำลังใจมีความเข้มแข็งของจิตใจแก่สมาชิกทั้งประเทศในอันที่จะร่วมแรงร่วมใจกันต่อต้านและป้องกัน ผลักดันให้ยาเสพติดพ้นออกไปจากชุมชนและสังคมไทยโดยเร็ว เพื่อเยาวชนคนไทยจะได้ปลอดภัยจากยาเสพติดตลอดไปด้วยการพัฒนารูปแบบการจัดประกวดกิจกรรมในโครงการให้มีความหลากหลายและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น
ยุทธศาสตร์ที่๒การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชน ประกอบด้วย ๒กิจกรรมคือ
กิจกรรมที่ ๑ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชนในชุมชนได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาและผลิตเทคโนโลยีการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน การอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการจัดกิจกรรม
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้กับเยาวชน การใช้เทคโนโลยีให้แก่กลุ่มแกนนำเยาวชน และการสนับสนุนให้แกนนำเยาวชนที่ผ่านการอบรมดำเนินการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันทางจิตให้เยาวชนในชุมชน
กิจกรรมที่ ๒ โครงการพัฒนาและจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น (TO BE NUMBER ONEFRIEND CORNER) กิจกรรม ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในชุมชนเมืองชุมชนชนบทสถานศึกษาและสถานประกอบการ ภายใต้แนวคิด “ปรับทุกข์สร้างสุขแก้ไขปัญหา พัฒนา EQ” โดยจัดให้มีบริการให้คำปรึกษา(Counseling) บริการฝึกแก้ปัญหา พัฒนา EQ ทั้งด้วยตนเอง กิจกรรมกลุ่มและบริการกิจกรรมเสริมทักษะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขด้วยการเสริมสร้างสุขภาพให้แก่วัยรุ่นและเยาวชนด้วยกิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะโดยศิลปินดารา นักกีฬาที่มีชื่อเสียง และวิทยากรผู้เชี่ยวชาญอื่นๆในศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นซึ่งปัจจุบันได้มีการขยายกลุ่มเป้าหมายไปในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนและศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และทัณฑสถาน กระทรวงยุติธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เน้นการสร้างและพัฒนาเครือข่ายสมาชิกเพื่อให้การร่วมมือร่วมใจป้องกันปัญหายาเสพติดมีความต่อเนื่องและยั่งยืน ในรูปแบบของการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์กรภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ผลผลิตจากการดำเนิน
ตามยุทธศาสตร์ ที่สำคัญผลผลิตหนึ่งคือ การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE เรียนรู้ระหว่างชมรมทั้งภายในและภายนอกจังหวัด ย่อมเป็นกิจกรรมสำคัญที่จะเสริมสร้างประสบการณ์ให้กับสมาชิกชมรม TOBE
NUMBER ONE ให้มีโอกาสสร้างกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้มีมากขึ้น อันจะเป็นการพัฒนาแนวคิดการพัฒนาให้กับเยาวชน ให้เปิดมุมมองที่กว้างออกไปจนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับจังหวัด ภูมิภาคและระดับชาติ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 | 60 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) นักเรียนได้รับโอกาสการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างทักษะเชิงบวกในการป้องกันสารเสพติด
2) นักเรียนได้เพิ่มพูนทักษะ การฝึกทำงานเป็นทีม การแก้ไขปัญหาและพัฒนาภาวะความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ
3) นักเรียนตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด
4) ชุมชนมีความเข้มแข็งมีกระบวนการเอาชนะยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 | 60 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4136-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวคอรีเย๊าะ ปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......