กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-03 เลขที่ข้อตกลง 37/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 354,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหาร จากอดีตที่มีการจัดหาวัตถุดิบอาหารมาดำเนินการปรุง การประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน ในปัจจุบันมีการจัดตั้งแผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว ไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่นักท่องเที่ยว และประชาชน ทำให้เกิดความสะดวกสบายในการบริโภค ดังนั้น การควบคุม ดูแล ให้ผู้ประกอบการด้านอาหาร ปรุง ประกอบอาหารให้สะอาดและปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยวและประชาชน และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จึงเป็นภารกิจที่สำคัญเพื่อให้ผู้ประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการปรับปรุง รวมถึงพัฒนาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เทศบาลนครสงขลาร่วมกับสถานีตำรวจภูธรเมืองสงขลา ได้กำหนดพื้นที่ผ่อนผันการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวนทั้งสิ้น 20 จุด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวทั้งหมดภายในเขตเทศบาลนครสงขลา และถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามแห่งหนึ่งในภาคใต้ อีกทั้งการท่องเที่ยวในเขตเทศบาลนครสงขลายังมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารจึงยิ่งมีความสำคัญ นอกจากประชาชนในพื้นที่แล้วยังมีนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวที่ควรได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และไม่เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่มาจากอาหารและน้ำดื่ม เช่น โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคบิด เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพประชาชนทั้งในพื้นที่และนักท่องเที่ยว อีกทั้งอาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของเทศบาลนครสงขลาอีกด้วย งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มี โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ในด้านการสุขาภิบาลอาหาร อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีคุณภาพ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว
  2. 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมิน แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  3. 3. ตรวจแนะนำผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานร้านอาหารปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.2561
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารกลางวัน
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร
  5. ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดการประชุมฯ
  6. ค่าชุดทดสอบหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น
  7. ค่าไม้สำลีพันก้านปลอดเชื้อ
  8. ค่าจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานเคลือบพลาสติก
  9. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชกา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารมีความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหาร เพื่อนำไปพัฒนาสถานประกอบกิจการด้านอาหารให้มีความสะอาด และปลอดภัย
  2. ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  3. ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และได้รับป้ายรับรอง “ร้านมาตรฐาน ปลอดภัย”
  4. มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียนจากนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปให้ได้รับความสะดวก และแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เกิดความพึงพอใจให้แก่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป
  5. มีทะเบียนผู้ประกอบกิจการที่ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เพื่อรองรับมหกรรมกีฬาซีเกมส์ ปี 2569

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการด้านอาหาร
90.00

 

2 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมิน แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของ แผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจประเมินและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
90.00

 

3 3. ตรวจแนะนำผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานร้านอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของผู้ประกอบกิจการด้านอาหารผ่านการตรวจแนะนำ และได้รับป้ายรับรองมาตรฐานร้านอาหารปลอดภัย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจประเมิน แผงลอยจำหน่ายอาหาร ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (3) 3. ตรวจแนะนำผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร พร้อมจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานร้านอาหารปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.2561 (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารกลางวัน (4) ค่าตอบแทนวิทยากร (5) ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดการประชุมฯ (6) ค่าชุดทดสอบหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น (7) ค่าไม้สำลีพันก้านปลอดเชื้อ (8) ค่าจัดทำป้ายรับรองมาตรฐานเคลือบพลาสติก (9) ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชกา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในแหล่งท่องเที่ยว จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปัณฑิตา ชัยวนนท์ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด