กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง ”
ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายพงศกร ต่อสกุล ประธานชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว




ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8291-02-27 เลขที่ข้อตกลง 21/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8291-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,890.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันรูปแบบของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ มีอยู่หลากหลายประเภท ล่าสุด “การฟ้อนรำ 4 ภาค” ตามท่วงทำนองดนตรีพื้นบ้าน ก็ถูกนำมาใช้ในการเอกเซอร์ไซส์ เพื่อสร้างความแข็งแรง ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้กับคนสูงวัย ที่สำคัญยังเป็นรูปแบบของการโยกย้ายส่ายสะโพก ที่คนรุ่นปู่ย่าตายายค่อนข้างถนัดและไม่รู้สึกขัดเขิน เมื่อต้องมายืนออกกำลังในที่สาธารณะ แถมบางรายยังบอกว่าดีเสียอีก เพราะอย่างน้อยลูกๆ หลานๆ จะได้ชื่นชมท่าร่ายรำที่เป็นภูมิปัญญาของคนรุ่นตายายยังสาว เพื่ออนุรักษ์ไว้ไม่ให้สูญหาย มีข้อมูลเกี่ยวกับการเอกเซอร์ไซส์ด้วยท่าฟ้อนรำ ที่ช่วยลดโรค “NCD” หรือโรคไม่ติดต่อรื้อรังในคนสูงวัย อธิบายว่า “สำหรับการเลือกออกกำลังกาย ด้วยการ “ฟ้อนรำ4ภาค”เนื่องจากเป็นการเคลื่อนไหวอวัยวะร่างกายตามจังหวะเสียงเพลง แน่นอนจะช่วยกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก ข้อต่อต่างๆ ตลอดจนกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกายได้ทำงานเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าจะเป็นท่าทางฟ้อนรำแบบไหน เช่น การฟ้อนรำที่ประยุกต์เรื่องนาฏศิลป์เข้าไป ซึ่งเรียกได้ว่าทุกๆ รูปแบบของการออกกำลังกายด้วยท่าร่ายรำ ล้วนมีประโยชน์ต่อผู้สูงวัยแทบจะทั้งสิ้น เพราะแน่นอนว่าคนวัยเก๋าจะได้ใช้ทั้งหัว ตา ไหล่ แขน มือ นิ้ว ลำตัวที่ต้องโยกย้ายไปตามเสียงเพลง รวมถึงการเคลื่อนไหวหัวเข่า ขณะที่ต้องสลับขาเปลี่ยนท่า เรียกว่าได้ออกกำลังแทบทุกส่วน     ส่วนระยะเวลาของการฟ้อนรำเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม อันดับแรกก็ขึ้นอยู่กับสมรรถภาพของผู้สูงวัยแต่ละท่าน หรือถ้าเป็นไปได้ก็แนะนำให้ออกกำลังสัปดาห์ละ 150 นาที (คิดเป็นวันละ 30 นาที) หรือจะออกกำลังกายแบบสะสมก็ได้เช่นกัน เช่น ออกกำลังครั้งละ 10 นาที จากนั้นก็เปลี่ยนอิริยาบถไปทำงานบ้านอย่างอื่นและมาออกต่อก็ได้ และจะเอกเซอร์ไซส์แบบรวดเดียว 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมงก็ได้เช่นกัน หรือจะใช้วิธีง่ายๆ ว่าควรออกกำลัง เพื่อให้ชีพจรในร่างกาย ทำงานมากกว่าปกติ หรือชีพจรเต้นให้ได้ 80-90 ครั้งต่อนาที จากที่เคยเต้นอยู่ที่ 50-60 ครั้งต่อนาที เพราะจะทำให้หัวใจทำงานได้มากขึ้น ก็จะทำให้เลือดลมสูบฉีดและไหลเวียนได้ดี ก็จะไปเลี้ยงส่วนต่าง รวมถึงสมองให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อนั้นร่างกายก็จะแข็งแรง     ทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาวได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย“การฟ้อนรำ4ภาค”ซึ่งเป็นการอนุรักษ์นาฎศิลป์ไทย เช่น ภาคเหนือ ฟ้อนร่ม ภาคกลาง ฟ้อนรำเกี่ยวข้าว ฟ้อนเซิ้งกระติ๊บข้าว ภาคใต้ ฟ้อนรำคารีกีปัส ให้อยู่คู่กับคนไทยตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการฟ้อนรำ 4 ภาค อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อทำให้สมองได้ใช้งานในการจดจำท่าทางในการรำ ป้องกันโรคความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการฟ้อนรำของแต่ละภาค
  2. กิจกรรมทบทวนการฟ้อนรำของแต่ละกลุ่ม
  3. กิจกรรมติดตามผลการฝึกอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุได้รับความสนุกสนานและเพื่อสร้างความแข็งแรง ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้กับคนสูงอายุ ที่สำคัญยังเป็นรูปแบบของการโยกย้ายส่ายสะโพก ด้วยท่าฟ้อนรำ ที่ช่วยลดโรค “NCD” หรือโรคไม่ติดต่อรื้อรังในคนสูงอายุป้องกันการหกล้ม การฟ้อนรำที่ประยุกต์เรื่องนาฏศิลป์จะทำให้เกิดการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้เด็กได้รักษาสืบไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการฟ้อนรำ 4 ภาค อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการฟ้อนรำ 4 ภาค เพิ่มขึ้นหลังผ่านการอบรม

 

2 เพื่อทำให้สมองได้ใช้งานในการจดจำท่าทางในการรำ ป้องกันโรคความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถจดจำท่าฟ้อนรำ 4 ภาค ได้อย่างถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการฟ้อนรำ 4 ภาค อย่างถูกต้อง (2) เพื่อทำให้สมองได้ใช้งานในการจดจำท่าทางในการรำ ป้องกันโรคความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการฟ้อนรำของแต่ละภาค (2) กิจกรรมทบทวนการฟ้อนรำของแต่ละกลุ่ม (3) กิจกรรมติดตามผลการฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกายด้วยการรำไทย 4 ภาค ช่วยพัฒนาร่างกายและสมอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8291-02-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพงศกร ต่อสกุล ประธานชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด