โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทย มีประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้กำหนดทิศทาง การพัฒนาในระยะยาว ที่จะมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสามารถเปลี่ยนผ่านประเทศไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้” จึงมีเป้าหมายสำคัญ คือ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต เพื่อการพัฒนาในทุกมิติและทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี คนเก่งและมีคุณภาพ โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นต้นน้ำของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม เพิ่มการกระจายรายได้ และพัฒนาการให้บริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง และขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป
จังหวัดปัตตานี มีนโยบายการดำเนินงาน “อำเภอสุขภาวะดี” โดยมีนายอำเภอเป็นประธาน และมีสหสาขาวิชาชีพร่วมเป็นกรรมการ ที่เน้นการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่และการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานที่ลงสู่ระดับตำบล ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ได้มีการในขับเคลื่อนตามมาตรฐาน ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ภายใต้การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยบริการสาธารณสุขประจำตำบล ศูนย์เด็กเล็ก และ เครือข่ายชุมชน ที่ต้องร่วมผลักดันให้ มีมาตรการ มีกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ ผู้ปกครองมีความรู้ ตระหนักในการดูแล เด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพที่ดี โดยบูรณาการกับนโยบาย Smart Kids เด็กปฐมวัยสุขภาวะดี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านวัคซีน ด้านทันตกรรม และภาวะซีด เพื่อเด็กปัตตานี สุขภาพดี ไอคิวดี ที่ 104 ในปี 2570
การดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา มีได้มีส่งเสริมสุขภาพตามนโยบาย smart kids เด็กปฐมวัยสุขภาวะดี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านวัคซีน ด้านทันตกรรม และภาวะซีด ผลการดำเนินงาน ในปี 2564-2567 ดังนี้ ด้านที่1 ภาวะโภชนาการ จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5 ปี พบว่า ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (เกณฑ์ร้อยละ 66) ผลงาน ร้อยละ 56.00, 46.67, 55.39, 46.15 ตามลำดับ เด็กมีภาวะเตี้ย (เกณฑ์≤ร้อยละ10) ผลงาน ร้อยละ 17.94, 18.60, 23.46, 21.03ตามลำดับ เด็กมีภาวะผอม (เกณฑ์≤ร้อยละ5) ผลงาน ร้อยละ 5.1, 5.61, 9.26, 8.72 ตามลำดับ ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 2 ด้านการคัดกรองพัฒนาการ พบว่า เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้า(เกณฑ์≤ร้อยละ20)ผลงานร้อยละ 14.29, 6.48, 22.67, 17.88 ตามลำดับ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด หลังจากได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครอง 30 วัน และได้รับการติดตามโดยเจ้าหน้าที่ พบว่าเด็กมีพัฒนาการที่สมวัย (เกณฑ์ร้อยละ 90) ผลงาน ร้อยละ 94.12, 98.61, 93.45, 98.07 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 3 การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน พบว่าความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกณฑ์ร้อยละ 90 ยกเว้น วัคซีน MMR เกณฑ์ร้อยละ 95) ผลงาน ร้อยละ 43.92, 31.82, 18.64, 24.24 ตามลำดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 2 ปี ผลงานร้อยละ 33.33, 15.15, 21.74, 17.65 ตามลำดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 3 ปี ผลงาน ร้อยละ 30.19, 06.56, 06.06 ,25.00 ตามลำดับ และความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 5 ปี ผลงานร้อยละ 25.93, 46.43, 29.17, 30.43 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 4 การดำเนินงานตรวจทันตกรรม ในเด็กอายุ 3 ปี พบว่าได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 28.0 , 31.0, 40.0, 40.0 ตามลำดับ พบเด็กที่มีฟันผุ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 50 ของเด็กที่ได้รับการตรวจฟัน) ผลงานร้อยละ 50.0, 85.71, 66.67, 82.61 ตามลำดับ (ที่มาของข้อมูล ศูนย์ข้อมูลสุขภาพจังหวัดปัตตานี (HDC) พบว่าผลงานตรวจฟันยังไม่ครอบคลุม และยังมีฟันผุเกินเกณฑ์แต่มีแนวโน้มดีขึ้น ด้านที่ 5 การดำเนินงานคัดกรองภาวะซีด ในเด็ก 6-12 เดือน เด็กที่มีภาวะซีด ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2566-2568 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20) ผลงานร้อยละ 25.71, 50.00, 23.25 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งจากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่า ด้านผู้ปกครอง: ยังขาดความรู้ ความตระหนักในการดูแลบุตร ด้านเจ้าหน้าที่: การติดตามเด็กไม่ต่อเนื่อง ขาดการบูรณราการกับเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ด้านศูนย์เด็กเล็ก/ผู้ดูแล: ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และให้ความสำคัญในทุกด้าน เนื่องจากต้องมีการประเมินตนเองมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ด้านสุขภาพ (4D)
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้เหมาะสมตามวัย จึงได้จัดทำโครงการเด็กตะโละแมะนา Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ในปีงบประมาณ 2568 นำร่องดำเนินการในเด็กที่อาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อประเมินและแก้ไขปัญหา สร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลากทางสติปัญญาและอารมณ์ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ เรื่องโภชนาการ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปาก เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และเรื่องการเฝ้าระวังภาวะซีดในเด็ก แก่ผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย และฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน
- ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็กอายุ 0-5 ปี
- เกิดความรัก ความสัมพันธ์ที่อบอุ่นระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
58
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
58
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ เรื่องโภชนาการ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปาก เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และเรื่องการเฝ้าระวังภาวะซีดในเด็ก แก่ผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 ”
ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02 เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทย มีประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้กำหนดทิศทาง การพัฒนาในระยะยาว ที่จะมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสามารถเปลี่ยนผ่านประเทศไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ใหม่ของโลกได้” จึงมีเป้าหมายสำคัญ คือ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต เพื่อการพัฒนาในทุกมิติและทุกช่วงวัย ให้เป็นคนดี คนเก่งและมีคุณภาพ โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นต้นน้ำของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม เพิ่มการกระจายรายได้ และพัฒนาการให้บริการทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง และขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป
จังหวัดปัตตานี มีนโยบายการดำเนินงาน “อำเภอสุขภาวะดี” โดยมีนายอำเภอเป็นประธาน และมีสหสาขาวิชาชีพร่วมเป็นกรรมการ ที่เน้นการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่และการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ให้มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานที่ลงสู่ระดับตำบล ซึ่งการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ได้มีการในขับเคลื่อนตามมาตรฐาน ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ภายใต้การมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยบริการสาธารณสุขประจำตำบล ศูนย์เด็กเล็ก และ เครือข่ายชุมชน ที่ต้องร่วมผลักดันให้ มีมาตรการ มีกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ ผู้ปกครองมีความรู้ ตระหนักในการดูแล เด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพที่ดี โดยบูรณาการกับนโยบาย Smart Kids เด็กปฐมวัยสุขภาวะดี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านวัคซีน ด้านทันตกรรม และภาวะซีด เพื่อเด็กปัตตานี สุขภาพดี ไอคิวดี ที่ 104 ในปี 2570
การดำเนินงานศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา มีได้มีส่งเสริมสุขภาพตามนโยบาย smart kids เด็กปฐมวัยสุขภาวะดี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านพัฒนาการ ด้านวัคซีน ด้านทันตกรรม และภาวะซีด ผลการดำเนินงาน ในปี 2564-2567 ดังนี้ ด้านที่1 ภาวะโภชนาการ จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-5 ปี พบว่า ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (เกณฑ์ร้อยละ 66) ผลงาน ร้อยละ 56.00, 46.67, 55.39, 46.15 ตามลำดับ เด็กมีภาวะเตี้ย (เกณฑ์≤ร้อยละ10) ผลงาน ร้อยละ 17.94, 18.60, 23.46, 21.03ตามลำดับ เด็กมีภาวะผอม (เกณฑ์≤ร้อยละ5) ผลงาน ร้อยละ 5.1, 5.61, 9.26, 8.72 ตามลำดับ ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 2 ด้านการคัดกรองพัฒนาการ พบว่า เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้า(เกณฑ์≤ร้อยละ20)ผลงานร้อยละ 14.29, 6.48, 22.67, 17.88 ตามลำดับ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด หลังจากได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครอง 30 วัน และได้รับการติดตามโดยเจ้าหน้าที่ พบว่าเด็กมีพัฒนาการที่สมวัย (เกณฑ์ร้อยละ 90) ผลงาน ร้อยละ 94.12, 98.61, 93.45, 98.07 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 3 การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน พบว่าความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกณฑ์ร้อยละ 90 ยกเว้น วัคซีน MMR เกณฑ์ร้อยละ 95) ผลงาน ร้อยละ 43.92, 31.82, 18.64, 24.24 ตามลำดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 2 ปี ผลงานร้อยละ 33.33, 15.15, 21.74, 17.65 ตามลำดับ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 3 ปี ผลงาน ร้อยละ 30.19, 06.56, 06.06 ,25.00 ตามลำดับ และความครอบคลุมการได้รับวัคซีน อายุ 5 ปี ผลงานร้อยละ 25.93, 46.43, 29.17, 30.43 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ด้านที่ 4 การดำเนินงานตรวจทันตกรรม ในเด็กอายุ 3 ปี พบว่าได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 28.0 , 31.0, 40.0, 40.0 ตามลำดับ พบเด็กที่มีฟันผุ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 50 ของเด็กที่ได้รับการตรวจฟัน) ผลงานร้อยละ 50.0, 85.71, 66.67, 82.61 ตามลำดับ (ที่มาของข้อมูล ศูนย์ข้อมูลสุขภาพจังหวัดปัตตานี (HDC) พบว่าผลงานตรวจฟันยังไม่ครอบคลุม และยังมีฟันผุเกินเกณฑ์แต่มีแนวโน้มดีขึ้น ด้านที่ 5 การดำเนินงานคัดกรองภาวะซีด ในเด็ก 6-12 เดือน เด็กที่มีภาวะซีด ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2566-2568 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20) ผลงานร้อยละ 25.71, 50.00, 23.25 ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งจากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่า ด้านผู้ปกครอง: ยังขาดความรู้ ความตระหนักในการดูแลบุตร ด้านเจ้าหน้าที่: การติดตามเด็กไม่ต่อเนื่อง ขาดการบูรณราการกับเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก ด้านศูนย์เด็กเล็ก/ผู้ดูแล: ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และให้ความสำคัญในทุกด้าน เนื่องจากต้องมีการประเมินตนเองมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ด้านสุขภาพ (4D)
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตะโละแมะนา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้เหมาะสมตามวัย จึงได้จัดทำโครงการเด็กตะโละแมะนา Smart Kids พิชิต 5 ด้าน ในปีงบประมาณ 2568 นำร่องดำเนินการในเด็กที่อาศัยอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อประเมินและแก้ไขปัญหา สร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย มีความฉลากทางสติปัญญาและอารมณ์ปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน
- เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี
- เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ เรื่องโภชนาการ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปาก เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และเรื่องการเฝ้าระวังภาวะซีดในเด็ก แก่ผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 58 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย และฟันไม่ผุ Smart Kids 5 ด้าน
- ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแล เด็กอายุ 0-5 ปี
- เกิดความรัก ความสัมพันธ์ที่อบอุ่นระหว่างเด็กและผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 58 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 58 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ที่กำหนด และให้เด็กมีสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ด้าน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและตระหนักในการดูแลเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเด็กผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ เรื่องโภชนาการ เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ เรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปาก เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และเรื่องการเฝ้าระวังภาวะซีดในเด็ก แก่ผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กตะโละแมะนา สมาร์ทคิดส์ พิชิต 5 ด้าน (Talok Smart Kids) ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ ุ68-L2986-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรฮูดาร์ วาเง๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......