กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568 ”
ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2489-1- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2489-1- ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง      และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโรคเรื้อรัง Metabolic ได้แก่ โรคเบาหวาน,        โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน      และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต นอกจากนี้โรคเบาหวานยังคงเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆ  ในกลุ่มโรค NCDs เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง และโรคไตวายเรื้อรัง ฯลฯ     สถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย ข้อมูลจากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2566 มีผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี    ในปี พ.ศ. 2565 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานสะสมจำนวน 3.3 ล้านคนเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 มากถึง 1.5 แสนคน    สำหรับการคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2567 พบว่า การคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป    ยังไม่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานมากถึง 5 ล้านคนจากเป้าหมายทั่วประเทศ 22 ล้านคน ดังนั้นประชาชนที่มีอายุ  35 ปีขึ้นไป ควรตรวจคัดกรองโรคเบาหวานปีละ 1 ครั้ง ค่าระดับน้ำตาลในเลือดควรน้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ซึ่งหากตรวจพบตั้งแต่เริ่มแรกและรักษาได้เร็วจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงและ      อาจถึงแก่ชีวิตได้ ซึ่งสาเหตุโรคเบาหวานเกิดจากการทํางานของฮอร์โมนผิดปกติส่งผลให้เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดสูง  หากน้ำตาลในเลือดสูงเป็นระยะเวลานานจะส่งผลให้อวัยวะเสื่อมสภาพเป็นเหตุให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตา ไต    หลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมองโรคเบาหวานที่พบได้บ่อยที่สุด คือ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจาก      ภาวะดื้ออินซูลิน ในระยะแรกอาจไม่มีอาการ มักตรวจพบเมื่อเช็กสุขภาพโดยบังเอิญในผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป        มีน้ำหนักเกินหรืออ้วนร่วมด้วย การดูแลป้องกันผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทำได้โดย        ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ดี ควบคุมอาหารลดอาหารหวาน มัน เค็ม พบแพทย์สม่ำเสมอ ใช้ยาตามแพทย์สั่ง  หากมีอาการผิดปกติให้แจ้งแพทย์ที่รักษาห้ามปรับยาเอง ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หมั่นตรวจเท้าด้วยตัวเอง  หากเป็นแผลควรรีบไปพบแพทย์ ไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
    สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ของตำบลบาเระเหนือตั้งแต่ปี ปี 2564 ถึงปี 2566 เท่ากับ 5 คน    ,4 คน,และ 2 คน ตามลำดับ และในปี 2567 ผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด จำนวน 199 คน และสามารถควบคุมระดับน้ำตาล  ในเลือดได้ดี ร้อยละ 15.58 (เกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ 40 %) และสถานการณ์ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่  ของตำบลบาเระเหนือตั้งแต่ปี ปี 2563 ถึงปี 2565 เท่ากับ 6 คน,5 คน,และ 5 คน ตามลำดับ และในปี 2567        มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในความรับผิดชอบ จำนวน 627 คน และสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี      ร้อยละ 51.20 (เกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ 60 %) การดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะ            โดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน นอกจาก          ยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเอง และร่วมหารือ และแนะนำ      การแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมี          เป็นจำนวนมาก และมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้รับบริการดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่างครบถ้วน    และการรักษาส่วนใหญ่ยังเน้นโรงพยาบาลเป็นศูนย์กลาง(Hospital-based) ถึงแม้หลาย ๆ โรงพยาบาล          จะได้รับการรับรองเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ(HPH) ก็ตาม ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ  ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลตนเองน้อย ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งแพทย์ และทีมงานเป็นหลัก    แต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย ได้ตระหนักในการดูแลตนเอง มีความรู้ สร้างทัศนคติ  จะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย          เพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก     การป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนที่มีความเสี่ยงสูงจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่มีความสำคัญเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของโรค ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการค้นหาและคัดกรองโรคเบาหวานและภาวะความดันโลหิตสูงของประชาชนในพื้นที่ รับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อประเมินสถานการณ์ และแนวโน้มของการเจ็บป่วย อันจะเป็นแนวทางในการวางแผน กำหนดนโยบายในการควบคุม ป้องกัน และลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งประชาชนในกลุ่มเป้าหมายได้เกิดทักษะในการค้นหากลุ่มเสี่ยงของโรคดังกล่าวในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.มีความรู้และทักษะในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส ตามวิถีชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำ/ภาคีเครือข่าย
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยแกนนำ/ภาคีเครือข่ายในชุมชน จำนวน 1,200 คน(7หมู่บ้าน)
  3. 1.1 อบรมให้ความรู้แก่แกนนำในการดูแลติดตาม กลุ่มเสี่ยงสูงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 75 คน 1.2 ฝึกทักษะการตรวจความดันโลหิตและระดับ น้ำตาลในเลือดแก่แกนนำ/ภาคีเครือข่าย
  4. เจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความดันโลหิตเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป โดยแกนนำ/ภาคีเครือข่ายตามจุดที่กำหนดในชุมชน
  5. อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงรายใหม่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยหลัก 3 อ 2 ส จำนวน 120 คน(จัดอบรม 2 รุ่นๆละ 60 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรค METABOLIC


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม.มีความรู้และทักษะในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : อสม.มีความรู้และทักษะในการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเจาะน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว ร้อยละ 80

 

2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชากรอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส ตามวิถีชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 67

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.มีความรู้และทักษะในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายตามแนวทางที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส ตามวิถีชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำ/ภาคีเครือข่าย (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงและให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยแกนนำ/ภาคีเครือข่ายในชุมชน จำนวน 1,200 คน(7หมู่บ้าน) (3) 1.1 อบรมให้ความรู้แก่แกนนำในการดูแลติดตาม กลุ่มเสี่ยงสูงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 75 คน 1.2 ฝึกทักษะการตรวจความดันโลหิตและระดับ น้ำตาลในเลือดแก่แกนนำ/ภาคีเครือข่าย (4) เจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความดันโลหิตเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป โดยแกนนำ/ภาคีเครือข่ายตามจุดที่กำหนดในชุมชน (5) อบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงรายใหม่โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยหลัก 3 อ 2 ส จำนวน 120 คน(จัดอบรม 2 รุ่นๆละ 60 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ตามวิถีชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2489-1-

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด