directions_run
โครงการการจัดการขยะของครัวเรือนหมู่ที่ 1 ตำบลนาขยาด
ชื่อโครงการ | โครงการการจัดการขยะของครัวเรือนหมู่ที่ 1 ตำบลนาขยาด |
รหัสโครงการ | 68-L3320-02-23 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลนาขยาด |
วันที่อนุมัติ | 6 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 มิถุนายน 2568 - 19 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 11,080.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลนาขยาด |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน | 300.00 | ||
2 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า | 24.82 | ||
3 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ | 24.82 | ||
4 | ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ | 4.96 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน |
300.00 | 250.00 |
2 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ |
4.96 | 8.86 |
3 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า |
24.82 | 31.91 |
4 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ |
24.82 | 31.91 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 11,080.00 | 0 | 0.00 | |
20 - 30 มิ.ย. 68 | ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน | 0 | 125.00 | - | ||
21 ก.ค. 68 - 29 ส.ค. 68 | การจัดการขยะในชุมชน | 0 | 10,670.00 | - | ||
23 - 30 ก.ย. 68 | การประเมินและถอดบทเรียน | 0 | 285.00 | - |
ผู้ที่เข้าอบรมได้รับความรู้และสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้ โดยมีการคัดแยกขยะเป็นประจำ สามารถนำวัสดุมาใช้อย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง และสามารถใช้ประโยชน์จากขยะเปียกได้ ส่งผลให้ชุมชนบ้านศาลาต้นรัก หมู่ที่ 1 มีปริมาณขยะครัวเรือนลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 เม.ย. 2568 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ