กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางรวีวรรณ แก้วดำ




ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3030-68-01-0003 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3030-68-01-0003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงาน มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus (พลัส) สู่ 2,500 วัน” คือ ตำบลที่มีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ และเด็กแรกเกิด – 5 ปี เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทยเติบโตเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล สอดคล้องนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 – 2570 คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพภายใต้การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรที่เพียงพอ ทั้งนี้ในช่วง 1,000 วันมหัศจรรย์เป็นช่วงสำคัญ เป็นจุดเริ่มต้นของชีวิต ในการปูพื้นฐานของชีวิตคนไทยสู่อนาคตที่ดี ให้เด็กไทยฉลาด พัฒนาการสมวัย สูงสมส่วน แบ่งเป็น 3 ช่วงที่หนึ่ง 270 วันแรกระหว่างการตั้งครรภ์ เป็นช่วงเวลาสำคัญของการสร้างเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอและหลากหลาย เสริมธาตุไอโอดีน เหล็ก โฟลิก ช่วงที่สอง 180 วัน แรกเกิด-6เดือน เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองของเด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การได้รับนมแม่ตั้งแต่ชั่วโมงแรงของชีวิต การโอบกอดและเล่นกับลูกส่งผลให้ลูกเจริญเติบโตดี มีพัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์ดี ช่วงที่สาม 550 วัน อายุ 6 เดือน-2 ปี เน้นการเป็นเด็กฉลาด มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ทำด้วยการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัย ควบคู่การดื่มนมแม่ให้นานที่สุด ส่งเสริมครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็งด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน และลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเจริญเติบโต จะทำให้ทารกพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูง ในที่สุดมีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข มีการพัฒนาคลินิกฝากครรภ์ (ANC)คุณภาพ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดูแลการตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพป้องกันความเสี่ยงและลดภาวะแทรกซ้อนโลหิตจางและการคลอดก่อนกำหนด การฝากครรภ์ตามเกณฑ์ และการพัฒนาคลินิกเด็กสุขภาพดีเด็ก(WCC)คุณภาพทารก ได้รับการเลี้ยงดูตามวัย เด็กมีพัฒนาการสมวัย ไอคิว อีคิว ดี ทำให้เด็กเติบโดเป็นคนที่มีคุณภาพ เก่งดี มีสุข ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 เด็กอายุ 0-5 ปีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนตามวัย ร้อยละ 66 เด็กมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ10 เด็กมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 9 และมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75)
จากการติดตามการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กในเขต ตำบล ปิตูมุดี อำเภอ ยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 พบว่าหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 65.91 ฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 65.91 อัตราการคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 4.38 ในการติดตามข้อมูลเด็กปฐมวัย พบว่า ในเด็ก 0- 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 15.38 มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน ร้อยละ 50.26 มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 72.03 มีภาวะโลหิตจาง 40.48และผลการดำเนินงานด้านสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย พบว่าเด็ก 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 23.25 และพบว่า กลุ่มเด็กอายุ 18 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 8.2และ เด็ก 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 41.48 และพบว่า กลุ่มเด็กอายุ 3ปีมีฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 32.47 ซึ่งบ่งชี้ว่าปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ต้องได้รับการแก้ไขเนื่องจากส่งผลต่อปัญหาภาวะ เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็ก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กโภชนการและการเจริญเติบโตตามวัยได้
ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะรังร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิตูมุดี ตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่่1 อบรมและชี้แจงรายละเอียดโครงการตำบล มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบล มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus (พลัส) สู่ 2,500 วัน แก่แกนนำอสมและภาคีเครือข่าย
  2. กิจกรรมที่2 อบรม หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มารดาหลังคลอด ในการส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัย 5 ด้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
หญิงตั้งครรภ์ ผู้ดูแลเด็ก มารดาหลังคลอด 50
แกนนำ อสม. และภาคีเตรือข่าย 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดความร่วมมือผ่านภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
2.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วและสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
3.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดูแลเด็กปฐมวัย 5ด้าน ได้อย่างถูกต้อง 4. เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน และพัฒนาการสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
หญิงตั้งครรภ์ ผู้ดูแลเด็ก มารดาหลังคลอด 50
แกนนำ อสม. และภาคีเตรือข่าย 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่่1 อบรมและชี้แจงรายละเอียดโครงการตำบล มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบล  มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus (พลัส) สู่ 2,500 วัน แก่แกนนำอสมและภาคีเครือข่าย (2) กิจกรรมที่2 อบรม หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก มารดาหลังคลอด ในการส่งเสริมศักยภาพการดูแลเด็กปฐมวัย 5 ด้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันสู่ 2500 วัน เพื่อสุขภาพอนามัยแม่และเด็กตำบลปิตูมุดี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3030-68-01-0003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรวีวรรณ แก้วดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด