โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน ”
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน (นางนันท์นภัสร์สร คงเรือง)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3320-01-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3320-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม ประชากร และความเจริญทางเทคโนโลยีมีผลทำให้สุขภาพของประชาชนป่วยหรือตายด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้พฤติกรรมการดำรงชีวิตที่อาจก่อให้เกิดความเครียด ภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลก (กรมควบคุมโรค, กระทรวงสาธารณสุข : พ.ศ.2564) มีจำนวนผู้ป่วย 463 ล้านคน และคาดว่าในปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 629 ล้านคน สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.2 ล้านคน ของกระทรวงสาธารณสุข ก่อให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเฉลี่ยสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปีและหากรวมอีก 3 โรค คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ทำให้ภาครัฐต้องสูญเสียงบประมาณในการรักษารวมกันสูงถึง 302,367 ล้านบาทต่อปีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานยังคงเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆในกลุ่มโรค NCDs อาทิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ฯลฯ และกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายคนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)ซึ่งมุ้งเน้นการลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่เช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และลดความรุนแรงของผู้ป่วยรายเก่าด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพเช่นการรับประทานอาหารการนับคาร์บการออกกำลังกายที่เหมาะสมซึ่งได้มีระบบบริการตั้งแต่การส่งเสริมป้องกันการคัดกรองการตรวจวินิจฉัยการรักษาจนถึงการดูแลผู้ป่วยเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน ตำบลนาขยาดอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง ปี 2567คัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 1,355 คนพบกลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 14.83 และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 1.69 พบผู้ป่วยรายใหม่ 4 คนคิดเป็นร้อยละ 0.29 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงพบกลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 238 คน คิดเป็นร้อยละ 17.56 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.99 พบผู้ป่วยรายใหม่ 6คนคิดเป็นร้อยละ 0.44จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน เล็งเห็นความสำคัญในการตรวจคัดกรอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการคัดกรองที่ควรดำเนินการต่อเนื่องในทุกๆปีการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการักษารวดเร็ว และรักษาต่อเนื่องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และลดอัตราการตายด้วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเรื้อรังในชุมชน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ครั้งที่ 1
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส. ครั้งที่ 2
- กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ เข้าสู่ระบบการรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
230
กลุ่มวัยทำงาน
340
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน 35ปี ขึ้นไปทุกคน ได้รับการตรวจคัดกรองโรค NCDs และทราบสถานสุขภาพของตนเอง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรค NCDs ลดลง
- ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัย รักษาได้เร็ว ลดภาวะแทรกซ้อน
- อัตราการป่วยโรคหลอดเลือดสมองลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน
27.00
25.00
2
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง
35.00
30.00
3
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
25.00
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
690
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
230
กลุ่มวัยทำงาน
340
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง (2) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง (3) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเรื้อรังในชุมชน (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ครั้งที่ 1 (3) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส. ครั้งที่ 2 (4) กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ เข้าสู่ระบบการรักษา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3320-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน (นางนันท์นภัสร์สร คงเรือง) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน ”
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน (นางนันท์นภัสร์สร คงเรือง)
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3320-01-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3320-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ สังคม ประชากร และความเจริญทางเทคโนโลยีมีผลทำให้สุขภาพของประชาชนป่วยหรือตายด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้พฤติกรรมการดำรงชีวิตที่อาจก่อให้เกิดความเครียด ภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลก (กรมควบคุมโรค, กระทรวงสาธารณสุข : พ.ศ.2564) มีจำนวนผู้ป่วย 463 ล้านคน และคาดว่าในปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 629 ล้านคน สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.2 ล้านคน ของกระทรวงสาธารณสุข ก่อให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเฉลี่ยสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปีและหากรวมอีก 3 โรค คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ทำให้ภาครัฐต้องสูญเสียงบประมาณในการรักษารวมกันสูงถึง 302,367 ล้านบาทต่อปีโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานยังคงเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆในกลุ่มโรค NCDs อาทิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ฯลฯ และกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายคนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)ซึ่งมุ้งเน้นการลดจำนวนผู้ป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่เช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และลดความรุนแรงของผู้ป่วยรายเก่าด้วยการส่งเสริมให้มีการปรับพฤติกรรมสุขภาพเช่นการรับประทานอาหารการนับคาร์บการออกกำลังกายที่เหมาะสมซึ่งได้มีระบบบริการตั้งแต่การส่งเสริมป้องกันการคัดกรองการตรวจวินิจฉัยการรักษาจนถึงการดูแลผู้ป่วยเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน ตำบลนาขยาดอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุง ปี 2567คัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 1,355 คนพบกลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 14.83 และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 1.69 พบผู้ป่วยรายใหม่ 4 คนคิดเป็นร้อยละ 0.29 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงพบกลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 238 คน คิดเป็นร้อยละ 17.56 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.99 พบผู้ป่วยรายใหม่ 6คนคิดเป็นร้อยละ 0.44จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน เล็งเห็นความสำคัญในการตรวจคัดกรอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการคัดกรองที่ควรดำเนินการต่อเนื่องในทุกๆปีการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้ได้รับการักษารวดเร็ว และรักษาต่อเนื่องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน และลดอัตราการตายด้วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรองโรคเรื้อรังในชุมชน
- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ครั้งที่ 1
- ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส. ครั้งที่ 2
- กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ เข้าสู่ระบบการรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 230 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 340 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชน 35ปี ขึ้นไปทุกคน ได้รับการตรวจคัดกรองโรค NCDs และทราบสถานสุขภาพของตนเอง
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรค NCDs ลดลง
- ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัย รักษาได้เร็ว ลดภาวะแทรกซ้อน
- อัตราการป่วยโรคหลอดเลือดสมองลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน |
27.00 | 25.00 |
|
|
2 | ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง |
35.00 | 30.00 |
|
|
3 | ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
25.00 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 690 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 230 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 340 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานลดลง (2) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง (3) ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเความดันโลหิตสูงลดลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคเรื้อรังในชุมชน (2) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ครั้งที่ 1 (3) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส. ครั้งที่ 2 (4) กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ เข้าสู่ระบบการรักษา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองและควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านพังดาน จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3320-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังดาน (นางนันท์นภัสร์สร คงเรือง) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......