กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ


“ โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ”

อบต.กาวะ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอิบรอเฮง ดอรอเฮง

ชื่อโครงการ โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด

ที่อยู่ อบต.กาวะ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-50115-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อบต.กาวะ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ อบต.กาวะ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-50115-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปรามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหม่ที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนตอการดำเนินการ จำเป็นต้องวางแผนสำหรับดำเนินงานในแต่ละด้านอย่างรอบคอบ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆก็ได้มีความพยายามที่จะยับยั้งการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา พฤติกรรมการใช้ยาของมนุษย์นั้น มีเหตุผลสองประการด้วยกัน คือ เพื่อช่วยให้ตัวเราอยู่ในสภาพที่ เป็นสภาพปกติ นั่นก็คือ เพื่อรักษาโรคและเพื่อปัดเป่าความเจ็บปวดให้เหือดหายไป หรือมิฉะนั้นก็ใช้ยาเพื่อปลดปล่อยตัวเราจากสภาพปกตินั่นคือเพื่อทำให้เรารู้สึกสดชื่นมีชีวิตชีวาหรือสบายขึ้น
ปัจจุบันนี้ ยาเสพติดได้เข้ามาแพร่หลายในสังคมเราเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเฮโรอีน มอร์ฟีน และอื่นๆ อีกกว่า 100 ชนิด ซึ่งนอกจากผู้ใหญ่จะติดยาเสพติดแล้ว ก็ยังมีเยาวชนไทยอายุน้อยๆ ลงไป ติดยาเสพติดเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งนับว่าเป็นการสูญเสียทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการปกครอง เพราะนอกจากผู้เสพยาเสพติดทั้งหลายนี้ จะได้สามารถประกอบอาชีพทำการงานต่างๆไม่ได้แล้ว ยังก่ออาชญากรรม ทำให้เกิดปัญหาต่อสังคมกระทบกระเทือนต่อประชาชนผู้ไม่ได้เสพยาเสพติดอีกด้วย สาเหตุการติดยาเสพติดในปัจจุบันมีหลายสาเหตุอาทิเช่น การหาซื้อยาไปกินเองโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ เมื่อกินบ่อยๆก็จะทำให้ติดได้ ครอบครัวที่พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลบุตรหลาน เพราะต้องไปประกอบอาชีพนอกบ้าน ทำให้บุตรหลานไปคบเพื่อนนอกบ้าน อาจจะมีเพื่อนทีชักนำไปเสพสิ่งเสพติด หรือถูกหลอกลวงไปในทางที่ผิด หรือแม้แต่พ่อ แม่หย่าร้างกันอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้บุตรหลานไปเสพยาเสพติดได้
เราจะพูดถึงสาเหตุของการติดยาเสพติดที่มาจากครอบครัวมีปัญหา ไม่ว่าจะเป็น พ่อแม่ไม่มีเวลาดูแลลูก พ่อแม่หย่าร้างกัน กรณีเหล่านี้อาจทำให้เด็กเกิดความคับแค้นใจ เพราะคิดว่าตนไม่ได้รับความยุติธรรม ทำให้เด็กหันไปใช้ยาเสพติด ทั้งนี้เนื่องจากเด็ก ต้องการใช้ยาเป็นที่พึ่ง เนื่องจากมีความทุกข์ทางใจ หรืออาจจะมีปมด้อยหรืออาจเป็นเพราะเด็กขาดความรัก ความเอาใจใส่จากพ่อแม่ เมื่อเหงาก็ต้องออกไปหาเพื่อนข้างนอกซึ่งอาจเป็นหนทางนำไปสู่ปัญหาการใช้ยาเสพติดได้ เด็กทุกคนนั้นอยากเป็นคนดี เป็นที่รักของทุกคน เป็นคนที่มีค่า
มีความหมายต่อพ่อแม่ ต่อสังคมของตัวเอง ไม่มีใครอยากเป็นคนเลวหรืออยากจะไปติดยาเสพติด แต่การกระทำในบางครั้งของเด็กคิดว่า ตนทำถูกแล้ว ทำดีแล้ว แต่บางครั้งก็อาจจะตรงกันข้ามกับความคิดของผู้ใหญ่ ก็อาจทำให้เกิดการไม่เข้าใจกัน ด้วยความเป็นเด็ก การตัดสินใจ การใช้เหตุผล บางครั้งอาจจะไม่รอบคอบ ไม่เด็ดขาดเท่าที่ควร ทำให้เป็นหนทางที่จะนำไปสู่สิ่งเสพติดได้ง่าย การที่จะให้เด็กและเยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดนั้น จำเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาพื้นฐานที่เป็นสาเหตุของการนำไปสู่การใช้ยาเสพติด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวและชุมชน พร้อมๆกับการการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อลดปริมาณยาเสพติดในสังคมลง เมื่อเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่นจากการดูแลเอาใจใส่จากพ่อแม่อย่างพอเพียงแล้ว ปัญหาเด็กติดยาเสพติดก็จะไม่เกิดขึ้น

จากปัญหาครอบครัว ดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ จึงมีแนวคิดที่จะ ทำโครงการ "ประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ปี 2560" กลุ่มเป้าหมายกลุ่มประชาชนผู้สูบบุหรี่ นักเรียนชาย ชั้น ป.4 - ป.6 ผู้ปกครองนักเรียน จำนวนทั้งสิ้น 300 คน เพราะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มในการติดยาเสพติดเพิ่มขึ้นมากในขณะนี้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ ได้เล็งเห็นถึงว่า ในอนาคตหากเด็กเหล่านี้ต้องออกไปเผชิญชีวิตภายนอก โดยที่ไม่มีความรู้เรื่องพิษภัย และวิธีที่จะหลีกหนีให้พ้นจากยาเสพติด
มีโอกาสที่เด็กจะติดยาเสพติดได้ การจัดทำโครงการนี้มุ่งเน้นให้เด็กที่เข้าร่วมโครงการได้รู้ถึงพิษภัย และรู้ถึงวิธีให้ห่างไกลจากยาเสพติดทั้งหลาย เพื่อได้นำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางในการป้องกันตัวเองให้ห่างไกลจาก ยาเสพติดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เยาวชน นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ๒.เพื่อต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน ๓.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะเป็นผู้มีส่วนร่วมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่รับรู้และทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติด ๒.ผู้เข้าร่วมรับการฝึกอบรมสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยวิถีแห่งหลักธรรม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ

    วันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจำนวน 300 คน จะเป็นผู้มีส่วนร่วมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่รับรู้และทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติด ๒.ผู้เข้าร่วมรับการฝึกอบรมจำนวน 300 คน สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด  สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยวิถีแห่งหลักธรรม

     

    300 300

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจำนวน 300 คน ไดรับความรู้และมีส่วนร่วมรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่รับรู้และทราบถึงปัญหาพิษภัยของยาเสพติด ๒.ผู้เข้าร่วมรับการฝึกอบรมจำนวน 300 คน สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด  สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจ ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีด้วยวิถีแห่งหลักธรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เยาวชน นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ๒.เพื่อต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน ๓.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข
    ตัวชี้วัด : กลุ่มประชาชนผู้สูบบุหรี่ นักเรียนชาย ป.4-ป.6 และผู้ปกครองนักเรียน ได้รับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 300 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 190
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชน นักเรียนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ๒.เพื่อต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน ๓.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประชาร่วมใจต้านภัยยาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-50115-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอิบรอเฮง ดอรอเฮง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด