กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ”




หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านเกาะยาง (นางวิธุพร ด้วงเกต)




ชื่อโครงการ โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3320-02-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2568 ถึง 26 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L3320-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2568 - 26 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งพบว่าอัตราชุกของโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมองอันเนื่องมาจากปัจจัยเสี่ยง ที่คุกคามภาวะสุขภาพได้แก่การรับประทานอาหารการออกกำลังกาย และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ก่อให้เกิดความเครียดเป็นต้น ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข ปี 2568มีนโยบายคนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพโดยการนำศักยภาพของเครือข่ายสาธารณสุขทุกภาคส่วน รวมถึง อสม.ในการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease : NCDs) ซึ่งเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม โดยจากงานวิจัยของกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ WHO ในปี 2562 ระบุว่า คนไทยเสียชีวิตด้วย NCDs ปีละกว่า 400,000 ราย และสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจกว่า 1.6 ล้านล้านบาทต่อปี หรือร้อยละ 9.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยเป็นค่ารักษาพยาบาลทางตรง 1.39 แสนล้านบาท และความสูญเสียทางอ้อมอีก 1.5 ล้านล้านบาท จึงจำเป็นที่จะต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนจึงพัฒนาศักยภาพให้เป็นแกนนำสุขภาพของชุมชน ในการส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรค NCDs เชิงรุก โดยการให้ความรู้ สร้างความตระหนัก จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รวมถึงเป็นผู้ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ในฐานะหมอคนที่ 1 ช่วยยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิให้คนไทยห่างไกลโรคและภัยสุขภาพ ลดอัตราการป่วยด้วยโรค NCDs ก่อนเข้าสู่ระบบการรักษา ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพของประเทศ ด้วยหลักคิด “NCDs ดีได้ด้วยกลไก อสม.” พร้อมทั้งจะสนับสนุนการดำเนินงานและดูแลให้มีความ “ก้าวหน้า มั่นคง และยั่งยืน” ทั้งในด้านการพัฒนาศักยภาพ การปฏิบัติงาน ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และส่งต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพ (Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านเกาะยาง จึงได้จัดทำโครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพในชุมชน (Health Station) เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานสถานีสุขภาพ (Health Station) ของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ (NPCU) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะยาง ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงของประชาชนช่วยให้ประชาชนทั้งกลุ่มปกติและกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทีมงานเพื่อชี้แจ้งกำหนดรูปแบบและหาแนวทางจัดกิจกรรม
  2. จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ลดภาวะเสี่ยงต่อโรค NCDs ลดผู้ป่วยรายใหม่
2.ประชาชนในพื้นที่ใช้บริการที่สถานีสุขภาพเพิ่มขึ้น ลดความแออัดในโรงพยาบาล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
24.00 20.00

 

2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
35.00 25.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
2.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 380
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานเพื่อชี้แจ้งกำหนดรูปแบบและหาแนวทางจัดกิจกรรม (2) จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs สถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3320-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านเกาะยาง (นางวิธุพร ด้วงเกต) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด