โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล ”
ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางปาริฉัตร น้อยนาฎ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล
ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1526-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ(ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือ เท้า ปาก,ฉี่หนู) โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาลในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป ในอนาคต
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง ปี2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 1,085 ราย คิดเปน อัตราปวย 170.50 ตอประชากรแสนคน พบผูเสียชีวิต จำนวน 0 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.00 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 0.00 (ขอมูล ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ. ตรัง)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอห้วยยอด ปี2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 79 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 84.45 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 – 31 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ.ตรัง)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสขภาพตำบลบ้านหนองปรือ ปี๒๕๖7 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (Active case) จำนวน 2 ราย ได้แก่ พื้นที่หมู่ที่ 9 จำนวน 2 ราย (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 31 ตุลาคม 2567 : ทะเบียนรางานโรค 506 รพ.สต.)
และในส่วนสถานการณ์ของโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง ปี2567 ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 21 ตุลาคม 2567 กลุ่มงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดรับรายงานผู้ปวยโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) พบผู้ปวย จำนวน 167 ราย คิดเปนอัตราปวย 26.24 ตอประชากรแสนคน พบผู้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย (อำเภอปะเหลียน 1 ราย และอำเภอกันตัง 1 ราย) คิดเปนอัตราตาย 0.31 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 1.20 อำเภอที่มี อัตราปวยสูงสุด คือ อำเภอวังวิเศษ จำนวน 27 ราย คิดเปนอัตราปวย 62.26 ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 54 ราย คิดเปนอัตราปวย 35.10 ตอประชากรแสนคน และ อำเภอสิเกา จำนวน 11 ราย คิดเปนอัตราปวย 28.75 ตอประชากรแสนคน อำเภอที่มีอัตราปวยต่ำสุด คือ อำเภอรัษฎา จำนวน 3 ราย คิดเปนอัตราปวย 10.34 ตอประชากรแสนคน (ขอมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ.ตรัง)
สถานการณ์ของโรคฉี่หนู อำเภอห้วยยอด ปี 2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 17 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 18.17 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย (ขอมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ. ตรัง)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล เพื่อส่งเสริมแกนนำสุขภาพประจำบ้านสามารถป้องกันตนเอง ไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อ ที่ป้องกันได้ และเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค พร้อมทั้ง เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ๑.๑ ให้ความรู้แกนนำ ประจำบ้านแจำนวน 69 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. แกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคโรคติดต่อตามฤดูกาลเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๐
๒. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อตามฤดูกาล ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร และ หมู่บ้าน/ชุมชน สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดใน Generation ที่ ๒ ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ๑.๑ ให้ความรู้แกนนำ ประจำบ้านแจำนวน 69 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปาริฉัตร น้อยนาฎ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล ”
ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางปาริฉัตร น้อยนาฎ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-01-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1526-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคติดต่อ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ(ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) และโรคติดต่ออื่นๆ (มือ เท้า ปาก,ฉี่หนู) โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาลในพื้นที่จะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสุขภาพ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป ในอนาคต
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดตรัง ปี2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 1,085 ราย คิดเปน อัตราปวย 170.50 ตอประชากรแสนคน พบผูเสียชีวิต จำนวน 0 ราย คิดเปนอัตราตาย 0.00 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 0.00 (ขอมูล ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ. ตรัง)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอห้วยยอด ปี2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 79 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 84.45 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 – 31 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ.ตรัง)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสขภาพตำบลบ้านหนองปรือ ปี๒๕๖7 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (Active case) จำนวน 2 ราย ได้แก่ พื้นที่หมู่ที่ 9 จำนวน 2 ราย (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 31 ตุลาคม 2567 : ทะเบียนรางานโรค 506 รพ.สต.)
และในส่วนสถานการณ์ของโรคฉี่หนู จังหวัดตรัง ปี2567 ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 21 ตุลาคม 2567 กลุ่มงานควบคุมโรคติดตอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ไดรับรายงานผู้ปวยโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) พบผู้ปวย จำนวน 167 ราย คิดเปนอัตราปวย 26.24 ตอประชากรแสนคน พบผู้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย (อำเภอปะเหลียน 1 ราย และอำเภอกันตัง 1 ราย) คิดเปนอัตราตาย 0.31 ตอประชากรแสนคน อัตราปวยตาย รอยละ 1.20 อำเภอที่มี อัตราปวยสูงสุด คือ อำเภอวังวิเศษ จำนวน 27 ราย คิดเปนอัตราปวย 62.26 ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ อำเภอเมืองตรัง จำนวน 54 ราย คิดเปนอัตราปวย 35.10 ตอประชากรแสนคน และ อำเภอสิเกา จำนวน 11 ราย คิดเปนอัตราปวย 28.75 ตอประชากรแสนคน อำเภอที่มีอัตราปวยต่ำสุด คือ อำเภอรัษฎา จำนวน 3 ราย คิดเปนอัตราปวย 10.34 ตอประชากรแสนคน (ขอมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ.ตรัง)
สถานการณ์ของโรคฉี่หนู อำเภอห้วยยอด ปี 2567 ได้รับรายงานผู้ป่วย จำนวนทั้งสิ้น 17 ราย คิดเป็น อัตราป่วย 18.17 ต่อประชากรแสนคน รายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย (ขอมูลวันที่ 1 มกราคม 2567 - วันที่ 21 ตุลาคม 2567 : ระบบรายงานโรค 506 สสจ. ตรัง)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล เพื่อส่งเสริมแกนนำสุขภาพประจำบ้านสามารถป้องกันตนเอง ไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อ ที่ป้องกันได้ และเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและการสอบสวนโรค พร้อมทั้ง เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ๑.๑ ให้ความรู้แกนนำ ประจำบ้านแจำนวน 69 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. แกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคโรคติดต่อตามฤดูกาลเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๐ ๒. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อตามฤดูกาล ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร และ หมู่บ้าน/ชุมชน สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้เกิดใน Generation ที่ ๒ ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ๑.๑ ให้ความรู้แกนนำ ประจำบ้านแจำนวน 69 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1526-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปาริฉัตร น้อยนาฎ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......