กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568 ”
ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายเอกวัฒน์ นุมาศ




ชื่อโครงการ โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1526-01-07 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1526-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 159,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เริ่มเข้าสู่การเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” (Ageing Society) ตั้งแต่ปี 2548 โดยมีประชากร อายุ 60 ปี ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนโครงสร้างทางประชากรครั้งสำคัญ คือ การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เนื่องจากอัตราการเกิดและและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชากรไทยมีอายุเฉลี่ยที่ยืนยาวขึ้น ในปีพ.ศ. 2567 ประเทศไทยมีประชากรรวมโดยประมาณ 65.97 ล้านคน มีประชากรผู้สูงอายุจำนวน 13.30 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.16 ของประชากรทั้งหมด ดังนั้นทำให้มีโอกาสพบโรคเรื้อรังที่เกิดในผู้สูงอายุมากขึ้นตามไปด้วย รวมทั้งโรคกระดูกพรุนและกระดูกหัก ซึ่งได้มีการสำรวจความชุกของโรคกระดูกพรุนพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ส่งผลให้ “โรคกระดูกพรุน” ซึ่งเป็นภัยเงียบใกล้ตัว กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับชาติ
    การดูแลกระดูกที่ดีที่สุดไม่ใช่การรักษาแต่เป็นการป้องกันโรค เพราะ “โรคกระดูกพรุน” เป็นภาวะที่ความแข็งแกร่งของกระดูกลดลงร่วมกับการที่คุณภาพกระดูกลดลงด้วย ทำให้กระดูกมีความเปราะบาง เสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักได้ง่ายขึ้น ซึ่งกระดูกส่วนที่มีโอกาสหักได้ง่ายจากภาวะกระดูกพรุน คือ กระดูกสันหลัง ข้อสะโพก ข้อมือ และกระดูกต้นแขนบริเวณหัวไหล่ ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องจนอาจเกิดอันตรายถึงชีวิต จากสถิติพบว่าในจำนวนผู้หญิงไทย ทุกๆ 3 คน และผู้ชายไทย ทุกๆ 5 คน จะมีหนึ่งคนที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคนี้   เนื่องจากโรคกระดุกพรุนในระยะเริ่มต้นจะไม่ปรากฏอาการผู้ป่วยจึงไม่ทราบว่าเป็นโรคนี้จนกว่าปริมาณเนื้อกระดูกจะลดลงถึงระดับที่กระดูกเปราะและหักด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ปัจจุบันแทพย์สามารถวินิจฉัยภาวะกระดูกบางหรือโรคกระดูกพรุนในระยะเริ่มแรกได้โดยการวัดความหนาแน่นของกระดูกด้วยเครื่อง DEXA Scan[ Dual Energy X-Ray Absorption ]ซึ่งเป็นการตรวจที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถตรวจพบการลดลงของเนื้อกระดูกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้นและสามารถใช้ติดตามผลการรักษามีกระบวนการตรวจที่สะดวกสบายรวดเร็วมีวิธีการประเมินค่าที่ตรวจได้โดยอ้างอิงตามเกณฑ์มาตราฐานขององค์การอนามัยโลก เครื่องถูกออกแบบให้สามารถตรวจกระดูกได้หลายตำแหน่งแต่บริเวณที่เหมาะสมแก่การตรวจมากที่สุดคือบริเวณกระดูกที่รองรับน้ำหนักของร่างกายคือกระดูกสันหลังกระดูกสะโพกและกระดูกต้นขา         ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลเขากอบ จึงได้จัดทำ “โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568” เพื่อรณรงค์ให้ประชากรผู้สูงอายุที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงต่อการป่วยด้วยโรคมวลกระดูกพรุนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเขากอบ ให้ได้รับการตรวจค้นหาโรคกระดูกพรุนระยะเริ่มแรก ด้วยการตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูกด้วยเครื่อง DEXA Scan[ Dual
Energy X-Ray Absorption ] ซึ่งเป็นการตรวจที่มีประสิทธิภาพสูงหากพบก็จะได้รับการรักษาได้ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

.ผู้สูงอายุที่มีปัจจัยเสี่ยงสูงต่อโรคกระดูกพรุนได้รับการตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูกด้วยเครื่องDEXA Scan[ Dual Energy X-Ray Absorption ] เพื่อตรวจค้นหาโรคกระดูกพรุนอย่างถูกต้องและรวดเร็ว 2. คนที่ตรวจพบโรคกระดูกพรุน  ได้รับบริการตรวจรักษาและส่งต่อที่เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD)  ปี 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจวัดความหนาแน่นของมวลกระดูกในผู้สูงอายุ (Bone Mineral Density BMD) ปี 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1526-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอกวัฒน์ นุมาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด