กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาจรีย์ สงคง




ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-01-014 เลขที่ข้อตกลง 39/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มิถุนายน 2568 ถึง 19 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2568-L7572-01-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มิถุนายน 2568 - 19 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ด้านสุขภาพของเทศบาลเมืองพัทลุง ปัจจุบันสาเหตุการป่วยร้อยละ ๗๑ มีสาเหตุมาจากโรคไม่ติดต่อ สาเหตุการตายเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากมีจำนวนผู้สูงอายุมากขึ้น และโรคเรื้อรังอื่นๆ ซึ่งโรคเหล่านี้ เมื่อโรคเข้าสู่ระยะท้าย ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะทนทุกข์ทรมานจากการรักษา ที่ไม่ก่อเกิดประโยชน์ รวมถึงได้รับการรักษาที่มุ่งยื้อชีวิตแม้อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ รวมถึงการตัดสินใจเลือก ทางเลือกของการรักษาต่างๆที่มักกระทำโดยครอบครัวโดยผู้ป่วยไม่มีส่วนร่วม ซึ่งบางครั้งการรักษาดังกล่าวอาจไม่ใช่แนวทางที่ ผู้ป่วยต้องการ palliative care เป็นทางเลือกที่จะช่วยให้ผู้ป่วยไม่ทุกข์ทรมานเมื่อโรคเข้าสู่ระยะท้าย โดยจุดมุ่งหมายของ palliative care คือการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ในผู้ป่วยที่โรครักษาไม่ได้หรือรักษาลำบาก หลักการของ palliative care คือ การยอมรับในเวลาที่เหลืออยู่โดยไม่ไปยืดหรือเร่งเวลาที่เหลือ แต่ดูแลให้ผู้ป่วยมีสมรรถนะและคุณภาพชีวิตดีที่สุดในเวลาที่เหลืออยู่ โดยการจัดการอาการที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอาการปวดและอาการไม่สุขสบายอื่นๆ การดูแลประคับประคองด้านจิตใจ สังคม และด้านจิตวิญญาณ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative care) เป็นรูปแบบการดูแลสุขภาพแบบ องค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สําหรับผู้ที่ป่วยด้วยโรคที่คุกคามต่อชีวิต ซึ่งไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วย ผ่านกระบวนการป้องกันและบรรเทาความ ทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด ซึ่งมิใช่เป็นเพียงอาการของความผิดปกติทางร่างกายเท่านั้น แต่เป็นผลลัพธ์ที่ เกิดจากสภาวะทางด้านจิตใจของผู้ป่วยด้วย รวมทั้งการให้คําแนะนําต่อญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วย ในการ เตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสภาพความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
จากข้อมูลในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงมีผู้ป่วยระยะสุดท้าย จำนวน 25 คน ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานเกิดความเจ็บปวดจากโรคและมีแผล อาการหอบเหนื่อยเป็นต้น และผู้ป่วยมีความต้องการเสียชีวิตอย่างสงบที่บ้าน ผู้ป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว เทศบาลเมืองพัทลุงได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว ว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการดูแลประคับประคองอย่างเป็นองค์รวม ที่บ้านอย่างเหมาะสมลดความทุกข์ทรมานที่จะเกิดขึ้น และเป็นการดูแลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิตตามหลักศาสนาของแต่ละบุคคลเพื่อการจากไปอย่างสงบ ครอบครัวสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วม
  2. เพื่่อติดตามเยี่ยมดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองแบบองค์รวม เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
  3. เพื่อจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ยาและเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน กำหนดแนวทางและวางแผนการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยประคับประคอง
  2. เยี่ยมผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน
  3. ประชุมทีมสหวิชาชีพและทีมอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการดูแลตามเหมาะสมตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ป่วยประคับประคอง 25

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : มีระบบอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน
25.00 25.00

 

2 เพื่่อติดตามเยี่ยมดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองแบบองค์รวม เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยแบบประคับประคองได้รับการเยี่ยมดูแลแบบองค์รวม
25.00 25.00

 

3 เพื่อจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ยาและเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยแบบประคับประคองได้รับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและอุปกรณ์ที่จำเป็น
25.00 25.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ป่วยประคับประคอง 25

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน โดยชุมชนมีส่วนร่วม (2) เพื่่อติดตามเยี่ยมดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองแบบองค์รวม เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย และพร้อมเผชิญความตายอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (3) เพื่อจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ยาและเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน กำหนดแนวทางและวางแผนการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยประคับประคอง (2) เยี่ยมผู้ป่วยแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน (3) ประชุมทีมสหวิชาชีพและทีมอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการดูแลตามเหมาะสมตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชน จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-01-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาจรีย์ สงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด