กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางนนทิพา เอกอุรุ ตำแหน่ง ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ




ชื่อโครงการ โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05 เลขที่ข้อตกลง 39/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 154,929.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่น ๆ ของร่างกาย ปัญหาสุขภาพช่องปาก จึงเป็นประเด็นสำคัญที่พบบ่อยในทุกกลุ่มวัย แต่ด้วยลักษณะของรอยโรค ที่ไม่มีอาการในระยะเริ่มต้น ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ไม่รู้    ไม่สังเกตเห็น ไม่ได้ดูแล เฝ้าระวัง จนลุกลาม รุนแรง มากขึ้น ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ทรมาน นำไปสู่การสูญเสียฟัน ไม่สามารถบดเคี้ยวและใช้ชีวิตประจำวันได้ อย่างปกติสุข ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ทั้งที่โรคในช่องปากสามารถป้องกันได้ หากประชาชนสามารถประเมินสุขภาพช่องปากของตนเองได้เร็ว สามารถเข้าถึงข้อมูลเพื่อการดูแลตนเองเบื้องต้น และเข้าถึงบริการ ด้านสุขภาพช่องปากที่จำเป็นทันเวลา จากการดำเนินโครงการในปี 2567 งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ได้ทำการตรวจสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มอายุพบว่าเด็กแรกเกิด 0 - 2 ปี ที่เข้ามารับวัคซีนในคลินิกเด็กดี เริ่มตั้งแต่ มกราคม – กันยายน 2567 ณ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงและศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ จำนวน 380 คน มีปัญหาฟันน้ำนมผุ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 เด็กก่อนวัยเรียน โรงเรียนในเขตพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ตั้งแต่อายุ 3 – 5 ปี จำนวน 804 คน มีปัญหาฟันผุ 425 คน คิดเป็นร้อยละ 52.5 เด็กกลุ่มวัยเรียน ตั้งแต่อายุ 6 – 12 ปี จำนวน 2,210 มีปัญหาฟันผุ จำนวน 1,317 คน คิดเป็นร้อยละ 65  หญิงตั้งครรภ์จำนวน 178 คน มีปัญหาฟันผุจำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.80 และกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 579 คน มีปัญหาฟันผุ จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 20.7 สามารถดำเนินโครงการบรรลุตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
ในส่วนของการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคประชาชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) พบว่า อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) ส่วนใหญ่ยังมีความรู้ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก ดังนั้นงานทันตสาธารณสุขจึงเห็นความจำเป็นในการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.)  ด้านทันตสุขภาพ ในเขตเทศบาลนครสงขลา และเห็นความจำเป็นในการจัดทำคู่มือตรวจสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานของ อสม.ด้านทันตสุขภาพ ดังนั้น งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา จึงเห็นความสำคัญในการจัดทำโครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม
1.หญิงตั้งครรภ์ จำนวน 157 คน (หญิงมีครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก และหญิงมีครรภ์ที่ส่งต่อมาจาก รพ.สงขลา ในเขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง และศูนย์บริการสาธารณสุข      สระเกษ 2.เด็ก 0 – 2 ปี จำนวน 360 คน (เด็กที่มารับวัคซีน พุธที่ 2 ของเดือน ณ คลินิกทันตกรรม ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง,ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ)     3.เด็ก 3 – 5 ปี จำนวน 1,139 คน (เด็กนร.อายุ 3 – 5 ปี โรงเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน 7 โรงเรียน ได้แก่ รร.เทศบาล 1, รร.เทศบาล 2, รร.เทศบาล 3, รร.เทศบาล 4, รร.จุลสมัย, รร.ชัยมงคลวิทย์, รร.สงขลาวิทยามูลนิธิ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศพด.ท่าสะอ้าน,ศพด.บ่อยางประชาสรรค์และเนอสเซอรี่บ้านเด็กดี
4.เด็กนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 2,500 คน (เด็กนร.อายุ 6 – 12 ปี โรงเรียนใน เขตเทศบาลนครสงขลาทั้ง 7 โรงเรียน ได้แก่ รร.เทศบาล 1, รร.เทศบาล 2, รร.เทศบาล 3, รร.เทศบาล 4, รร.จุลสมัย, รร.ชัยมงคลวิทย์,รร.สงขลาวิทยามูลนิธิ     5.ผู้สูงอายุจำนวน 280 คน (ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาและผู้สูงอายุ ที่ติดบ้าน ติดเตียง )     6.อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 21 คน (อสม.5 PCU และ 2 ศูนย์บริการ) รวม 6 กลุ่ม จำนวน 4,457 คน เป็นโครงการที่ให้ประโยชน์แก่ประชาชน ประชาชนทุกกลุ่มได้เข้าถึงการบริการและเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมป้องกันรักษาปัญหา ด้านทันตสุขภาพ ให้ประชาชนได้มีสุขภาพช่องปากที่ดียิ่งขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.)ได้รับความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้
  2. 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  3. 3.เพื่อทาฟลูออไรด์วานิชซึ่งช่วยในการลดความเสี่ยงในการเกิดฟันผุ
  4. 4.เพื่อเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ป้องกันฟันผุในเด็กนักเรียน ป.1 - ป.6

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรม อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เชี่ยวชาญ ด้านทันตสุขภาพ
  2. 2.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มต่างๆ
  3. 3.วัสดุอุปกรณ์และที่เกี่ยวข้องและจำเป็น
  4. อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เชี่ยวชาญ ด้านทันตสุขภาพ
  5. 2.1 กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และคุณแม่หลังคลอด
  6. 2.2.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 0 – 2 ปี เทศบาลนครสงขลา
  7. 2.3.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 3 – 5 ปี
  8. 2.4.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 6 – 12 ปี
  9. 2.5.ผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
  10. วัสดุอุปกรณ์และที่เกี่ยวข้องและจำเป็น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 1,499
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,500
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 280
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 157
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 21
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจ
  2 กลุ่มเป้าหมายในโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
  3 กลุ่มเป้าหมายในโครงการได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
  4 นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.)ได้รับความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้
ตัวชี้วัด : 1.อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.)และทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 100
100.00

 

2 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : 2.ทุกกลุ่มเป้าหมายในโครงการได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ร้อยละ 55
55.00

 

3 3.เพื่อทาฟลูออไรด์วานิชซึ่งช่วยในการลดความเสี่ยงในการเกิดฟันผุ
ตัวชี้วัด : 3.ทุกกลุ่มเป้าหมายในโครงการได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชซึ่งช่วยในการลดความเสี่ยงใน การเกิดฟันผุ ร้อยละ 65
65.00

 

4 4.เพื่อเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ป้องกันฟันผุในเด็กนักเรียน ป.1 - ป.6
ตัวชี้วัด : 4.นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ป้องกันฟันผุ ร้อยละ 30
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4457
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 1,499
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 2,500
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 280
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 157
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 21
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.)ได้รับความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากได้ (2) 2.เพื่อตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) 3.เพื่อทาฟลูออไรด์วานิชซึ่งช่วยในการลดความเสี่ยงในการเกิดฟันผุ (4) 4.เพื่อเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ป้องกันฟันผุในเด็กนักเรียน ป.1 - ป.6

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรม อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เชี่ยวชาญ ด้านทันตสุขภาพ (2) 2.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในกลุ่มต่างๆ (3) 3.วัสดุอุปกรณ์และที่เกี่ยวข้องและจำเป็น (4) อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)เชี่ยวชาญ ด้านทันตสุขภาพ (5) 2.1 กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และคุณแม่หลังคลอด (6) 2.2.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 0 – 2 ปี เทศบาลนครสงขลา (7) 2.3.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 3 – 5 ปี (8) 2.4.กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็ก 6 – 12 ปี (9) 2.5.ผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลนครสงขลา (10) วัสดุอุปกรณ์และที่เกี่ยวข้องและจำเป็น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนบ่อยาง ฟันดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนนทิพา เอกอุรุ ตำแหน่ง ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด