โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางศิราณี อับดุลรามัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-1-9 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-l2519-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนไทยตั้งแต่บรรพบุรุษมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ และสามารถต่อสู้กับโรคภัยต่างๆ ได้ การแพทย์พื้นบ้าเป็นหนทางหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น ซึ่งการดูแลสุขภาพมีมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยใช้สมุนไพรใกล้ตัวที่หาได้ไม่ยากรักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ และในปัจจุบันมีความเจริญก้าวกน้า ทางเทคโนโลยี สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ยา ที่ทำจากสมุนไพรรักษาอาการต่างๆ น้ำมันไพลเป็นหนึ่งในยาบัญชียาหลัก มีสรรพคุณช่วยทำให้บรรเทาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยอก ปวดเมื่อยตามร่างกาย ใช้ทาถูนวดบริเวณที่มีอาการ น้ำมันไพลยังช่วยแก้อาการตะคริว ปวดสันหลัง ปวดเข่าอีกด้วย ทั้งสมุนไพรชนิดนี้เป็นพืชเศรษฐกิจภานในชุมชน ซึ้งจะทำให้เพิ่มมูลค่าให้กับคนในชุมชน และด้วยประชาชนตำบลฆอเลาะ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนและกรีดยาง ทำให้ปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำค่อนข้างมาก
ความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของผู้ประกอบอาชีพใน ประเทศไทยจากสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการทำงานทั้งหมดของปี พ.ศ.2557 พบว่า ส่วนใหญ่(ร้อยละ 83.2) เกิดจากปัญหาของโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน หรือสาเหตุจากลักษณะงานที่จำเพาะหรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการทำงาน และจากข้อมูลผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ จากการทำงานของระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ.2557 พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 81,226 คน(135.3/ประชากร แสนคน) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2558 ที่พบผู้ป่วย 72486 คน (121.7 ตอประชากรแสนคน) สำหรับในภาคใต้พบว่า จังหวัดนครศรีธรรมราชมีอัตราผู้ป่วยนอกกลุ่มโรคกระดูกและกล้ามเนื้อสูงเป็นอันดับ 4 โดยมีอตราป่วยเท่ากับ 8444.7 ต่อประชากรแสคน นอกจากนี้พบว่าการป่วยด้วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อของจังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ปี 2556-2560 มีแนว โน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีปัญหาความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โรคและภาวะความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อเป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มคนทำงาน รคตังกล่าวมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เกิดจากท่าทางซ้ำๆ หรือมีแรงกดดันต่อกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อต่อหรือกระดูกเป็นระยะเวลานาน การออกแรงเกินกำลัง การออกแบบเครื่องมือหหน่วยที่ทำงานที่เหมาะสม รวมทั้งการทำงานด้วยท่าทางที่ผิดปกติ นอกจากนี้พบว่าการทำงาน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาความเป็นปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น การนั่งทำงนหน้าคอมพิวเตอร์ในระยะเวลานาน การเอี้ยวตัวขณะนั่งทำงานความสูงของโต๊ะ เก้าอี้ รวมทั้งอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น ปัญหาด้านสายตา การปวด ความล้าบริเวณคอ หลัง มือ ข้อมือ ล้วนเป็นปัญหาสุขภาพที่สามารถพบได้ในผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานาน จุฑาทิพย์ วิญญูเจริญกุล และกลางดือน โภชนา ได้ทำการประเมินความเสี่ยงทางกายศาสตร์ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความเสี่ยงเท่ากับ 5 คะแนน นั้นคือท่าทางการปฏิบัติงานอยู่ในภาวะเสี่ยงต้องมีการปรับปรุงทันที นอกจากนี้งานวิจัยของ เมธินี ครุสันธิ์ และสุนิสา ชายเกลี้ยง ได้ศึกษาพบว่า ความรูสึกไม่สบายบริเวณ คอ ไหล่และหลังของพนักงานสำนักงานของมหาวิทยาลัยเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มากกว่า 4 ชั่วโมงต่อวันและพบว่าในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาพนักงานมีอาการปวดบริเวณไหล่ขวามากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 51.1 รองลงมาคอไหล่ซ้ายคิดเป็นร้อยละ 41.1 และความรู้สึกไม่สบายสูงสุดบริเวณไหล่ขวาคิดเป็นร้อยละ 21.2
ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย “เจ็บป่วยคราใด คิดถึงยาไทย ก่อนไปหาหมอ”โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด ได้เห็นถึงคามสำคัญในการส่งเสริมการใช้ ยาสมุนไพรในชุมชน เพื่อลดการใช้ยาบางอย่าง เช่น ยาลดการอักเสบกล้ามเนื้อและข้อ ฯลฯ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในทุกๆด้านดังกล่าวมาข้างต้นและเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการปลูกพืชสมุนไพรใช้ในครัวเรือน ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของประชาชนในตำบลฆอเลาะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการส่วนร่วมของประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
- 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ประชาชนมีความรู้ มีทักษะในการบริหารร่างกาย
- ผู้ร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและปลอดภัย
2
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายสามารถลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็นได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศิราณี อับดุลรามัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางศิราณี อับดุลรามัน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-1-9 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-l2519-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนไทยตั้งแต่บรรพบุรุษมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ และสามารถต่อสู้กับโรคภัยต่างๆ ได้ การแพทย์พื้นบ้าเป็นหนทางหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมไทย ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น ซึ่งการดูแลสุขภาพมีมาตั้งแต่สมัยโบราณโดยใช้สมุนไพรใกล้ตัวที่หาได้ไม่ยากรักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ และในปัจจุบันมีความเจริญก้าวกน้า ทางเทคโนโลยี สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ยา ที่ทำจากสมุนไพรรักษาอาการต่างๆ น้ำมันไพลเป็นหนึ่งในยาบัญชียาหลัก มีสรรพคุณช่วยทำให้บรรเทาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยอก ปวดเมื่อยตามร่างกาย ใช้ทาถูนวดบริเวณที่มีอาการ น้ำมันไพลยังช่วยแก้อาการตะคริว ปวดสันหลัง ปวดเข่าอีกด้วย ทั้งสมุนไพรชนิดนี้เป็นพืชเศรษฐกิจภานในชุมชน ซึ้งจะทำให้เพิ่มมูลค่าให้กับคนในชุมชน และด้วยประชาชนตำบลฆอเลาะ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนและกรีดยาง ทำให้ปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำค่อนข้างมาก ความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของผู้ประกอบอาชีพใน ประเทศไทยจากสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย เนื่องจากการทำงานทั้งหมดของปี พ.ศ.2557 พบว่า ส่วนใหญ่(ร้อยละ 83.2) เกิดจากปัญหาของโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงาน หรือสาเหตุจากลักษณะงานที่จำเพาะหรือมีปัจจัยเสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการทำงาน และจากข้อมูลผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ จากการทำงานของระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขในปี พ.ศ.2557 พบผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ 81,226 คน(135.3/ประชากร แสนคน) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2558 ที่พบผู้ป่วย 72486 คน (121.7 ตอประชากรแสนคน) สำหรับในภาคใต้พบว่า จังหวัดนครศรีธรรมราชมีอัตราผู้ป่วยนอกกลุ่มโรคกระดูกและกล้ามเนื้อสูงเป็นอันดับ 4 โดยมีอตราป่วยเท่ากับ 8444.7 ต่อประชากรแสคน นอกจากนี้พบว่าการป่วยด้วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อของจังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งแต่ปี 2556-2560 มีแนว โน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีปัญหาความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โรคและภาวะความผิดปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อเป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มคนทำงาน รคตังกล่าวมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เช่น เกิดจากท่าทางซ้ำๆ หรือมีแรงกดดันต่อกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อต่อหรือกระดูกเป็นระยะเวลานาน การออกแรงเกินกำลัง การออกแบบเครื่องมือหหน่วยที่ทำงานที่เหมาะสม รวมทั้งการทำงานด้วยท่าทางที่ผิดปกติ นอกจากนี้พบว่าการทำงาน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาความเป็นปกติของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น การนั่งทำงนหน้าคอมพิวเตอร์ในระยะเวลานาน การเอี้ยวตัวขณะนั่งทำงานความสูงของโต๊ะ เก้าอี้ รวมทั้งอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น ปัญหาด้านสายตา การปวด ความล้าบริเวณคอ หลัง มือ ข้อมือ ล้วนเป็นปัญหาสุขภาพที่สามารถพบได้ในผู้ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานาน จุฑาทิพย์ วิญญูเจริญกุล และกลางดือน โภชนา ได้ทำการประเมินความเสี่ยงทางกายศาสตร์ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความเสี่ยงเท่ากับ 5 คะแนน นั้นคือท่าทางการปฏิบัติงานอยู่ในภาวะเสี่ยงต้องมีการปรับปรุงทันที นอกจากนี้งานวิจัยของ เมธินี ครุสันธิ์ และสุนิสา ชายเกลี้ยง ได้ศึกษาพบว่า ความรูสึกไม่สบายบริเวณ คอ ไหล่และหลังของพนักงานสำนักงานของมหาวิทยาลัยเกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์มากกว่า 4 ชั่วโมงต่อวันและพบว่าในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมาพนักงานมีอาการปวดบริเวณไหล่ขวามากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 51.1 รองลงมาคอไหล่ซ้ายคิดเป็นร้อยละ 41.1 และความรู้สึกไม่สบายสูงสุดบริเวณไหล่ขวาคิดเป็นร้อยละ 21.2 ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย “เจ็บป่วยคราใด คิดถึงยาไทย ก่อนไปหาหมอ”โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด ได้เห็นถึงคามสำคัญในการส่งเสริมการใช้ ยาสมุนไพรในชุมชน เพื่อลดการใช้ยาบางอย่าง เช่น ยาลดการอักเสบกล้ามเนื้อและข้อ ฯลฯ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในทุกๆด้านดังกล่าวมาข้างต้นและเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการปลูกพืชสมุนไพรใช้ในครัวเรือน ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน ปี 2568 และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของประชาชนในตำบลฆอเลาะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการส่วนร่วมของประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
- 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ประชาชนมีความรู้ มีทักษะในการบริหารร่างกาย
- ผู้ร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้องและปลอดภัย |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายสามารถลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็นได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ (2) 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรและลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนยุคใหม่ ส่งเสริม ใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-l2519-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศิราณี อับดุลรามัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......