กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางวิรารัตน์ นิลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-11 เลขที่ข้อตกลง 42/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,625.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์โรควิถีชีวิตในประเทศไทยกำลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยเฉพาะ ๕ โรคสำคัญ ได้แก่ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อ รักษายาก และไม่หายขาด ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้น กินผักผลไม้น้อย และขาดการออกกำลังกาย จึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้น
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญของโลกและประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะส่งผล กระทบมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความพิการและเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค ล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสความเจริญของโลก ประกอบกับโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนแปลงมีผู้สงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สำนักระบาดวิทยาต้องดําเนินการ เฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๕ โรค ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ เป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ดูแลสุขภาพให้กับประชาชนทุกกลุ่มอายุ มีจัดบริการดูแลสุขภาพที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์มีเขตพื้นที่ดูแลรับผิดชอบจำนวน 10 ชุมชน รับผิดชอบประชากรจำนวน 8,056 คน จำนวน 3,655 หลังคาเรือน
จากการดำเนินงานผลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 5 อันดับโรคที่สำคัญ ได้แก่ อันดับ1 โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง อันดับ2 โรคระบบทางเดินหายใจ อันดับ3 โรคระบบกล้ามเนื้อ อันดับ4 โรคระบบทางเดินอาหาร อันดับ5 โรคไข้เลือดออก ผู้ป่วยโรคเรื้อรังของศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ปี ๒๕๖๗ มีทั้งหมด ๑,๒๕๖ คน เป็นโรค HT จำนวน ๕๙๑ คน DM จำนวน ๑๐๙ คน และ DM/HT จำนวน ๕๕๖ คน ซึ่งผู้ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมีผลจากพฤติกรรมสุขภาพของการใช้ชีวิตประจำวัน ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสร้างความตระหนักรู้ สามารถเฝ้าระวังสุขภาพป้องกันตนเองไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงไม่เป็นกลุ่มป่วยรายใหม่ และกลุ่มป่วยไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน สามารถจัดการตนเองด้านการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ครอบครัว และชุมชนมีส่วนร่วม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อดำเนินงานโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
  2. ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้
  3. 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ ติดตามงานด้านสาธารณสุข
  2. กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ
  3. ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.ใน PCU ชลาทัศน์
  4. ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission)
  5. ๒.๒ กิจกรรม อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน
  6. ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 65
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ป่วยโรงเรียนเบาหวานวิทยา ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถลดน้ำหนัก หรือลดยา หรือหยุดยาได้     ๒. ครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพให้ผู้ป่วยสามารถจัดการตนเองและลดภาวะแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อดำเนินงานโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
ตัวชี้วัด : ๑.1 มีโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ๑.2.ผู้ป่วยเบาหวานเข้าโรงเรียนเบาหวานวิทยาร้อยละ ๙๐
90.00

 

2 ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้
ตัวชี้วัด : ๒.๑ ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานบันทึกการจัดการตนเองของผู้ป่วยได้ ร้อยละ๑๐๐
100.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.๑ผู้ป่วยเบาหวานค่า HbA1C ลดลงร้อยละ ๕ ๓.๒ผู้ป่วยเบาหวานเข้าสู่ระยะสงบสามารถลดน้ำหนัก หรือลดยา หรือหยุดยาได้ ร้อยละ๑
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 65
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 65
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อดำเนินงานโรงเรียนเบาหวานวิทยา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ (2) ๒.เพื่อให้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ที่ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยได้ (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถจัดการตนเองด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงโครงการ  ติดตามงานด้านสาธารณสุข (2) กิจกรรมที่ ๒ งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) ๑.๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม.ใน PCU ชลาทัศน์ (4) ๒.๑  อบรมเพิ่มพูนทักษะสร้างความรอบรู้ให้จิตอาสา อสม. แกนนำชุมชน ผู้ป่วยเบาหวาน  รับสมัครสมาชิก นักเรียนเบาหวาน เข้าสู่ good model เบาหวานสงบได้ (DM Remission) (5) ๒.๒ กิจกรรม อบรมให้ความรู้ลูกหลาน ผู้ดูแล อสม.ห่วงใย ห่างไกลโรคเบาหวาน (6) ๒.๓ กิจกรรมเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและส่งเสริมการจัดการสุขภาพตนเองโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิรารัตน์ นิลสวัสดิ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด