โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางมยุรา ชูทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส
ตุลาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5170-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5170-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพที่ดีของประชาชนถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตให้ทุกคนมีความสุขดีไม่เจ็บป่วย จำเป็นที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนโดยมุ่งเน้นให้คนไทยได้บริโภคอย่างสะอาด ปลอดภัย มีคณค่าอย่างทั่วถึงครอบคลุมทุกพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนโดยมุ่งเน้นให้คนไทยได้บริโภคอย่างสะอาดปลอดภัย ได้มีการขับเคลื่อนเรื่องอาหารปลอดภัยมาโดยตลอด จากการสำรวจร้านอาหารแผงลอย ปี 2567 โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง พบว่ามีร้านค้าในชุมชนหรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยบางส่วนยังปฏิบัติไม่ถูกต้องตามสุขลักษณะ
ในปัจจุบันประเทศไทย ยังคงพบปัญฆาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพกระจายอยู่ในพื้นที่ต่างๆ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ จึงเป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย ซึ่งประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลง ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปเพิ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกลาง มีร้านอาหารแผงลอย ร้านขายของชำ ในหมู่บ้านจำนวนมาก เป็นร้ารที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้า เนื่องจากมีความสะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ จากการสำรวจพบว่า เครื่องอุปโภค บริโภคไม่ได้มาตราฐานจากร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้ร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น รพ.สต.บ้านกลาง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ได้มาตรฐาน โดยมุ่งหวังที่จะให้ผู้ประกอบการ และแกนนำ ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และอาหารที่ถูกลักษณะ สะอาด ปลอดภัย และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการตื่นตัวมากขึ้น และเกิดแรงจูงใจในการปรับปรุงสถานที่ วิธีการประกอบอาหารที่ถกต้อง ในร้านอาหาร แผงลอย และตลาด จึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
- 2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
- 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
- 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรม
- 2.จัดทำและขออนุมัติโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
- 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนและผู้ที่สนใจในพื้นที่ทราบ
- 4.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 5.จัดเตรียมเอกสารแผ่นพับประกอบความรู้
- 6.จัดกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
- 7.จัดกิจกรรม กลุ่ม อย.น้อย และนักเรียนในโรงเรียน
- 8.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมปลอดภัย
2.เกิดการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารในพื้นที่
3.ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมากจากการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัยของประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของร้านชำได้รับการตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวัง
2
2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของกลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
3
3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ (2) 2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย (3) 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 (2) 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรม (3) 2.จัดทำและขออนุมัติโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ (4) 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนและผู้ที่สนใจในพื้นที่ทราบ (5) 4.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (6) 5.จัดเตรียมเอกสารแผ่นพับประกอบความรู้ (7) 6.จัดกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ (8) 7.จัดกิจกรรม กลุ่ม อย.น้อย และนักเรียนในโรงเรียน (9) 8.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5170-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมยุรา ชูทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางมยุรา ชูทอง
ตุลาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5170-1-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 ตุลาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5170-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ การมีสุขภาพที่ดีของประชาชนถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตให้ทุกคนมีความสุขดีไม่เจ็บป่วย จำเป็นที่ต้องส่งเสริมและสนับสนุนโดยมุ่งเน้นให้คนไทยได้บริโภคอย่างสะอาด ปลอดภัย มีคณค่าอย่างทั่วถึงครอบคลุมทุกพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนโดยมุ่งเน้นให้คนไทยได้บริโภคอย่างสะอาดปลอดภัย ได้มีการขับเคลื่อนเรื่องอาหารปลอดภัยมาโดยตลอด จากการสำรวจร้านอาหารแผงลอย ปี 2567 โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง พบว่ามีร้านค้าในชุมชนหรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยบางส่วนยังปฏิบัติไม่ถูกต้องตามสุขลักษณะ ในปัจจุบันประเทศไทย ยังคงพบปัญฆาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพกระจายอยู่ในพื้นที่ต่างๆ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจโดยทั่วไปของประเทศ จึงเป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่จะให้ผู้บริโภคได้เลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและผู้จำหน่ายจะได้จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพด้วย ซึ่งประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็ว และมีการประกอบอาหารด้วยตนเองน้อยลง ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันไปเพิ่งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ถึงแม้จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกลาง มีร้านอาหารแผงลอย ร้านขายของชำ ในหมู่บ้านจำนวนมาก เป็นร้ารที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้า เนื่องจากมีความสะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ จากการสำรวจพบว่า เครื่องอุปโภค บริโภคไม่ได้มาตราฐานจากร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้ร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น รพ.สต.บ้านกลาง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพให้ได้มาตรฐาน โดยมุ่งหวังที่จะให้ผู้ประกอบการ และแกนนำ ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และอาหารที่ถูกลักษณะ สะอาด ปลอดภัย และเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้ประกอบการตื่นตัวมากขึ้น และเกิดแรงจูงใจในการปรับปรุงสถานที่ วิธีการประกอบอาหารที่ถกต้อง ในร้านอาหาร แผงลอย และตลาด จึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
- 2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
- 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
- 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรม
- 2.จัดทำและขออนุมัติโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
- 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนและผู้ที่สนใจในพื้นที่ทราบ
- 4.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 5.จัดเตรียมเอกสารแผ่นพับประกอบความรู้
- 6.จัดกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ
- 7.จัดกิจกรรม กลุ่ม อย.น้อย และนักเรียนในโรงเรียน
- 8.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพ บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมปลอดภัย 2.เกิดการเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารในพื้นที่ 3.ลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายและโรคภัยไข้เจ็บที่มีสาเหตุอันเนื่องมากจากการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัยของประชาชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของร้านชำได้รับการตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวัง |
|
|||
2 | 2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของกลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย |
|
|||
3 | 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังคณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ (2) 2.เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย (3) 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ ร้านอาหาร แผงลอย อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 (2) 1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรม (3) 2.จัดทำและขออนุมัติโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ (4) 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนและผู้ที่สนใจในพื้นที่ทราบ (5) 4.ประสานวิทยากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (6) 5.จัดเตรียมเอกสารแผ่นพับประกอบความรู้ (7) 6.จัดกิจกรรมเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ (8) 7.จัดกิจกรรม กลุ่ม อย.น้อย และนักเรียนในโรงเรียน (9) 8.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ อสม. แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนที่สนใจ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5170-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมยุรา ชูทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......