กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568 ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด




ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5295-01-11 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5295-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่ม ตำบลป่าแก่บ่อหิน ในปีงบประมาณ 2567    ( ตุลาคม 2566-กันยายน 2567) พบผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 29 ราย โรคความดันโลหิตสูง 205 ราย โรคเบาหวานความดันจำนวน 96 ราย ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2 ราย หลอดเลือดหัวใจ 2 รายและพบผู้ที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกพบความผิดปกติ 3 รายและพบผู้ที่มีความผิดปกติในการตรวจเต้านม 22 ราย ได้ส่งต่อทั้งหมด และพบว่าผู้ป่วยมีเพิ่มมากขึ้นทุกปี และมีอัตราป่วยค่อนข้างสูง สาเหตุการเกิดโรคส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ไม่ออกกาลังกาย ขาดความรู้ และไม่ให้ความสำคัญกับการให้ความรู้ของเจ้าหน้าที่ ปัจจุบันพบในกลุ่มอายุน้อยลงตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป ส่วนน้อยที่เกิดจากกรรมพันธุ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่มและอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม) ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้ความรู้ การค้นหาผู้ป่วย และป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มุ่งเน้นฝึกทักษะการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติ
ดังนั้นรพ.สต.บ้านทุ่งดินลุ่ม ตระหนักถึงปัญหาและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เนื่องจากสามารถป้องกันและรักษาได้ จึงได้จัดทำโครงการขึ้นโดยดึงพลังแกนนำ ของประชาชนทุกภาคส่วนเช่น อสม. นสค ประชาชนที่สนใจและตัวผู้ป่วยเองร่วมดำเนินงานโดยมุ่งหวังความสำเร็จให้สุขภาพของประชาชนทุกคน มีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ลดอัตราป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ
  2. เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
  3. สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
  4. แกนนำสุขภาพ มีความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติงานและแนะนำผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. คัดกรองโรคเรื้อรัง
  3. อบรมให้ความรู้
  4. อบรมให้ความรู้
  5. อบรมให้ความรู้
  6. คัดกรอง ปรับพฤติกรรม
  7. อบรมให้ความรู้ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  8. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังผู้ดูแลประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า Strok Stemi 2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังได้รับความรู้ในปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและลดอัตราป่วย 3.สตรี 30-70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้
  2. อสม.และแกนนำ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังและการช่วยฟื้นคืนชีพ
    5.ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองบุหรี่ สุรา และเป็นสมาชิก To be No 1

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วย DM,HT รายใหม่ลดลงร้อยละ 5 -กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 100 -คัดกรอง HT,DM, ร้อยละ 90 -ผู้ที่มีอาการหลอดเลือดสมองหรือหลอดเลือดหัวใจ ไปถึง รพ.ไม่เกิน 60 นาที ร้อยละ 100
90.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : -ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากกว่าร้อยละ40 -ผู้ป่วยHT ควบคุมความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ50 -ผู้ป่วย DM ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า ร้อยละ 100
100.00

 

3 สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : -สตรีอายุ 30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 (ภายใน 5 ปี) -สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องร้อยละ 100
100.00

 

4 แกนนำสุขภาพ มีความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติงานและแนะนำผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : -แกนนำสุขภาพและ อสม.มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานและแนะนำผู้อื่นได้อย่างมั่นใจ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและสามมารถดูแลตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดหัวใจ (2) เพื่อให้กลุ่มป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน (3) สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง (4) แกนนำสุขภาพ มีความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติงานและแนะนำผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) คัดกรองโรคเรื้อรัง (3) อบรมให้ความรู้ (4) อบรมให้ความรู้ (5) อบรมให้ความรู้ (6) คัดกรอง ปรับพฤติกรรม (7) อบรมให้ความรู้ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (8) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคไม่ติดต่อแบบยั่งยืน ประจำปี 2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5295-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชา หนูหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด