กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล” ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารุณี วาระหัส ตำแหน่ง อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมชนนีสงขลา




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล”

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-06 เลขที่ข้อตกลง 50/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล” จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,800.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เขตเทศบาลนครสงขลา มีประชากร 40,205 คน โดยมีประชากรผู้สูงอายุจำนวน 6,206 คน คิดเป็นร้อยละ 15.44 จำแนกเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม 4,960 คน ติดบ้าน 1,169 คน ติดเตียง 77 คน (กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2568) ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จากรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยพบว่า หนึ่งในโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้สูงอายุ คือ โรคสมองเสื่อม สถิติผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคภาวะสมองเสื่อมปี 2565 มีผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจำนวน 770,000 คน หรือประมาณร้อยละ 6 ของจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งประเทศ โดยเฉลี่ยปีละหนึ่งแสนคน (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2566) ภาวะสมองเสื่อมเป็นภาวะที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี ผลกระทบจากโรคสมองเสื่อมส่งผลต่อด้านร่างกาย ด้านจิตใจ การดำเนินชีวิตของผู้ป่วย โดยเฉพาะกระทบต่อภาระในการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมของครอบครัว อาการสมองเสื่อมคือภาวะที่มีการสูญเสียความสามารถทางสมอง เช่น ความจำ การรับรู้ ความเข้าใจ การใช้ภาษา ทิศทาง การใช้เหตุผลและการแก้ปัญหา มีการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมและบุคลิกภาพ โดยมีผลกระทบต่อความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันและการเข้าสังคม การดูแลที่ยาวนานทำให้ภาระการดูแลของผู้ดูแลรวมทั้งภาระงานด้านบริการของระบบสุขภาพต้องเพิ่มมากขึ้น สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ดูแลลดลง ดังนั้นการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสมองเสื่อมจึงเป็นสิ่งสำคัญ การดูแลผู้สูงอายุตามแนวทางสบช.โมเดล ตามหลัก 3 อ. 3 ล. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ลดเหล้า ลดบุหรี่ ลดน้ำหนัก) สามารถใช้เป็นแนวทางในการป้องกันภาวะสมองเสื่อมได้ โดยวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อชะลอความเสื่อมของเซลประสาท อันเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดภาวะสมองเสื่อมที่สอดคล้องกับแนวทางสบช.โมเดล ประกอบด้วย การเลือกรับประทานอาหารที่บำรุงสมอง การออกกำลังกายหรือการมีกิจกรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดดีขึ้นและเพิ่มการไหลเวียนเลือดไปที่สมอง การจัดการอารมณ์เพื่อไม่ให้เกิดความเครียดส่งผลให้หัวใจและระบบไหลเวียนทำงานได้ดีไม่มีการหดเกร็งของหลอดเลือดจากความเครียดเลือดไปเลี้ยงสมองได้ดีขึ้น การหลีกเลี่ยงสารที่จะทำให้เกิดอันตรายแก่สมอง เช่น บุหรี่ และแอลกอฮอล์ เนื่องจากการสูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดความเสื่อมของเซลล์ประสาทเร็วขึ้น และการลดน้ำหนักเพื่อรักษาค่าดัชนีมวลกายให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ  เป็นส่วนหนึ่งของการช่วยดูแลสมอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุทั้งบุคคลในครอบครัวและอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นผู้ที่มีความสำคัญในการการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา เห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุดูแลป้องกันไม่ให้เกิดภาวะสมองเสื่อม จึงจัดโครงการการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล ขึ้นซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายโครงการ 1,000 เตียง ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
  2. 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  4. ค่าอาหารกลางวัน
  5. ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  6. ค่าไวนิลโครงการ
  7. ค่าตอบแทนวิทยากร
  8. ค่าวิทยากรกลุ่มฝึกปฏิบัติ
  9. ค่าคู่มือการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
  10. ค่าใบ certificate
  11. ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น ( ปากกา/แฟ้มใส่เอกสารให้ผู้อบรม/แผ่นเกมจิ๊กซอส์กระตุ้นความจำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมมากขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมได้
  3. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังผู้อื่นได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ในการในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
80.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบการฝึกปฏิบัติทักษะในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (4) ค่าอาหารกลางวัน (5) ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (6) ค่าไวนิลโครงการ (7) ค่าตอบแทนวิทยากร (8) ค่าวิทยากรกลุ่มฝึกปฏิบัติ (9) ค่าคู่มือการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม (10) ค่าใบ certificate (11) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น ( ปากกา/แฟ้มใส่เอกสารให้ผู้อบรม/แผ่นเกมจิ๊กซอส์กระตุ้นความจำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ “การดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อม ตามแนวทางสบช.โมเดล” จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจารุณี วาระหัส ตำแหน่ง อาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมชนนีสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด