โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ”
ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภร ชาลีวัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
ที่อยู่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-02-12 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5230-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,672.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบจิตใจระดับต่าง ๆ กันไปโดยทั่วไปจะมีการปรับระดับจิตใจในทางที่ดีงานมากขึ้น สามารถควบคุมจิตใจได้ดีกว่าจึงพบว่าเมื่อคนมีอายุที่มากขึ้นจะมีความสุขุมมากขึ้นด้วยผู้สูงอายุมีลักษณะของโครงสร้างทางจิตใจเฉพาะเป็นของตนเอง ซึ่งจะเป็นรากฐานของการแสดงออกของคน ผู้สูงอายุจะมีปัญหาทางด้านสังคมและจิตใจซึ่งเป็นการปรับตัวเชิงลบ และการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจน แบ่งได้ 3 ด้าน คือการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ทางด้านสังคม และทางด้านจิตใจ ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและจิตใจที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต 1. ทางสังคม พบว่าเมื่อก้าวสู่วัยสูงอายุต้องเผชิญกับความสูญเสีย ดังนี้ การสูญเสียบทบาททางสังคมที่เคยมีบทบาท ตำแหน่ง มีคนเคารพนับถือในสังคม การสูญเสียสมาคมกับเพื่อนฝูง การสูญเสียสภาวะทางการเงินที่ดี จากรายได้ลดลง ขณะที่ค่าครองชีพกลับสูงขึ้นเรื่อย ๆ 2. ทางอารมณ์และจิตใจ ดังนี้ ด้านบุคลิกภาพ ในบางรายอาจมีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพที่เสื่อมลง ด้านความจำ มักพบว่าผู้สูงอายุจะจำเรื่องราวในอดีตได้ดี แต่มีความจำเกี่ยวกับสิ่งใหม่ ๆ ลดลง การกระตุ้นความจำจึงต้องอาศัยการปฏิบัติเป็นลำดับขั้นตอน ด้านสติปัญญา โดยปกติความสามารถทางสมองจะเริ่มลดลง คุณลักษณะการเสื่อมทางปัญญาที่พบในผู้สูงอายุได้แก่ ความสามารถในการใช้เหตุผล ความสามารถในการคำนวณบวกลบตัวเลข ความสามารถในการคิดเรื่องนามธรรม ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ แต่จะดีขึ้นถ้ามีการใช้ประสบการณ์เดิมที่ผ่านมาเข้าช่วย และความสามารถในการตัดสินใจ พบว่าช้าลงต้องให้บุคคลอื่นช่วยคิดตัดสินใจ
ปัญหาสุขภาพจิตพบในผู้สูงอายุ คือเรื่องความเครียดโดยมีอาการแสดงว่าผู้สูงอายุเกิดความเครียด คืออารมณ์ตึงเครียด ยิ้มไม่ออก สนุกไม่ออก หัวใจเต้นแรง ผิวหนังเย็นหรือแห้ง มันศีรษะหรือท้ายทอย หงุดหงิดง่าย ดูไม่มีความสุข วิตกกังวล เหงา/ว้าเหว่ จู้จี้ ขี้บ่น กลัวการถูกทอดทิ้ง รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า นอนไม่หลับ
โดยผู้สูงอายุหมู่ที่ 8 บ้านคลองเขาล้อน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 246 คน ในบางรายอาศัยอยู่เพียงลำพัง หรืออยู่กัน 2 ตายาย โดยมีไม่มีผู้ดูแล ในบางรายเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน ไม่เข้าสังคม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านคลองเขาล้อน จึงมีความมุ่งมั่นที่จะเสริมสร้างสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จากปัญหาสุขภาพจิตที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้นได้เห็นความสำคัญ จึงขอเสนอจัด “โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ” ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุและเพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน ซึ่งผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการโดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
- เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- ขั้นสรุปผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิต ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม หากมีความผิดปกติ สามารถปรึกษาพยาบาลจิตเวชได้โดยตรง หรือได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการรักษาต่อไป
2 ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลจิตใจผู้สูงอายุ โดยอสม. ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกได้รับความอบอุ่น สามารถสร้างรอยยิ้มได้ในผู้สูงอายุจากกิจกรรมการเยี่ยมบ้านฯ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สนใจเข้าร่วมโครงการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุฯ ได้ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชมรมอสม. ร้อยละ 100
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ (2) เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นสรุปผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภร ชาลีวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ”
ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภร ชาลีวัน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-02-12 เลขที่ข้อตกลง 29/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาพระ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5230-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,672.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบจิตใจระดับต่าง ๆ กันไปโดยทั่วไปจะมีการปรับระดับจิตใจในทางที่ดีงานมากขึ้น สามารถควบคุมจิตใจได้ดีกว่าจึงพบว่าเมื่อคนมีอายุที่มากขึ้นจะมีความสุขุมมากขึ้นด้วยผู้สูงอายุมีลักษณะของโครงสร้างทางจิตใจเฉพาะเป็นของตนเอง ซึ่งจะเป็นรากฐานของการแสดงออกของคน ผู้สูงอายุจะมีปัญหาทางด้านสังคมและจิตใจซึ่งเป็นการปรับตัวเชิงลบ และการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดเจน แบ่งได้ 3 ด้าน คือการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ทางด้านสังคม และทางด้านจิตใจ ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและจิตใจที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต 1. ทางสังคม พบว่าเมื่อก้าวสู่วัยสูงอายุต้องเผชิญกับความสูญเสีย ดังนี้ การสูญเสียบทบาททางสังคมที่เคยมีบทบาท ตำแหน่ง มีคนเคารพนับถือในสังคม การสูญเสียสมาคมกับเพื่อนฝูง การสูญเสียสภาวะทางการเงินที่ดี จากรายได้ลดลง ขณะที่ค่าครองชีพกลับสูงขึ้นเรื่อย ๆ 2. ทางอารมณ์และจิตใจ ดังนี้ ด้านบุคลิกภาพ ในบางรายอาจมีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพที่เสื่อมลง ด้านความจำ มักพบว่าผู้สูงอายุจะจำเรื่องราวในอดีตได้ดี แต่มีความจำเกี่ยวกับสิ่งใหม่ ๆ ลดลง การกระตุ้นความจำจึงต้องอาศัยการปฏิบัติเป็นลำดับขั้นตอน ด้านสติปัญญา โดยปกติความสามารถทางสมองจะเริ่มลดลง คุณลักษณะการเสื่อมทางปัญญาที่พบในผู้สูงอายุได้แก่ ความสามารถในการใช้เหตุผล ความสามารถในการคำนวณบวกลบตัวเลข ความสามารถในการคิดเรื่องนามธรรม ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ แต่จะดีขึ้นถ้ามีการใช้ประสบการณ์เดิมที่ผ่านมาเข้าช่วย และความสามารถในการตัดสินใจ พบว่าช้าลงต้องให้บุคคลอื่นช่วยคิดตัดสินใจ ปัญหาสุขภาพจิตพบในผู้สูงอายุ คือเรื่องความเครียดโดยมีอาการแสดงว่าผู้สูงอายุเกิดความเครียด คืออารมณ์ตึงเครียด ยิ้มไม่ออก สนุกไม่ออก หัวใจเต้นแรง ผิวหนังเย็นหรือแห้ง มันศีรษะหรือท้ายทอย หงุดหงิดง่าย ดูไม่มีความสุข วิตกกังวล เหงา/ว้าเหว่ จู้จี้ ขี้บ่น กลัวการถูกทอดทิ้ง รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า นอนไม่หลับ โดยผู้สูงอายุหมู่ที่ 8 บ้านคลองเขาล้อน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 246 คน ในบางรายอาศัยอยู่เพียงลำพัง หรืออยู่กัน 2 ตายาย โดยมีไม่มีผู้ดูแล ในบางรายเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน ไม่เข้าสังคม อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านคลองเขาล้อน จึงมีความมุ่งมั่นที่จะเสริมสร้างสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จากปัญหาสุขภาพจิตที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้นได้เห็นความสำคัญ จึงขอเสนอจัด “โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ” ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุและเพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน ซึ่งผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการโดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
- เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- ขั้นสรุปผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิต ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม หากมีความผิดปกติ สามารถปรึกษาพยาบาลจิตเวชได้โดยตรง หรือได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการรักษาต่อไป 2 ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลจิตใจผู้สูงอายุ โดยอสม. ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกได้รับความอบอุ่น สามารถสร้างรอยยิ้มได้ในผู้สูงอายุจากกิจกรรมการเยี่ยมบ้านฯ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สนใจเข้าร่วมโครงการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตในผู้สูงอายุฯ ได้ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สนใจเข้าร่วมโครงการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชมรมอสม. ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ (2) เพื่อเยี่ยมเสริมกำลังใจผู้สูงอายุที่บ้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นสรุปผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวคลองเขาล้อนห่วงใย สานสายใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5230-02-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภร ชาลีวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......