โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคในนักเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคในนักเรียน |
รหัสโครงการ | 68-L4156-00-00 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัคร์สาธารณสุขตำบลเกะรอ |
วันที่อนุมัติ | 1 พฤษภาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 29,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมูหัมมัด สาและ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอาหามะ บาบาที |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.535,101.576place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยพบว่าป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพเป็นอันดับต้นๆเช่นโรคมะเร็งทุกชนิดโรคหัวใจขาดเลือดโรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน เป็นต้น ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อนอาหารที่ไม่ได้มาตรฐาน อาหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆเป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ มีพื้นที่โรงเรียน ๕ โรง มีประชากรรับผิดชอบ 8,100 คน มีจำนวนหลังคาเรือน 2,203 หลังคาเรือนประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์เป็นต้น ครอบครัวมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวแต่อาศัยอยู่ในละแวกเดียวกัน วิถีชีวิตชุมชนโดยส่วนใหญ่นิยมชื้ออาหารถุงอาหารปรุงสุกที่มีจำหน่วยโดยทั่วไปในพื้นที่เนื่องจากไม่มีเวลา ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมดังกล่าวได้ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ พบว่ายังป่วยด้วยโรคเบาหนาวความดันโลหิตสูง และโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร โรคอุจจาระร่วง โรคบิดไข้ไทฟอยด์อาหารเป็นพิษเป็นต้นซึ่ง โรคเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว และอีกปัญหาหนึ่งที่ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ คือ การใช้ยายังมีความนิยมใช้ยาชุด หรือยาที่พ่อค้าเร่โฆษณาสรรพคุณ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องรวมพลังกันดำเนินการหลายๆมาตรการทุกรูปแบบในการดูแลนักเรียนพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารและโภชนาการในนักเรียน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพิ่มพฤติกรรมบริโภคที่ดีต่อสุขภาพ ส่งเสริมให้นักเรียนบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ 1.ร้อยละ 90% จำนวนครั้งที่นักเรียนบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ |
||
2 | พฤติกรรมบริโภคที่ไม่ดีต่อสุขภาพ เช่น อาหารที่มีน้ำตาลสูง
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคในนักเรียน(1 พ.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) | 29,250.00 | |||||
รวม | 29,250.00 |
1 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคในนักเรียน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 200 | 29,250.00 | 0 | 0.00 | 29,250.00 | |
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคในนักเรียน | 200 | 29,250.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 200 | 29,250.00 | 0 | 0.00 | 29,250.00 |
๑. ประชุมชี้แจ้งแนวทางการดำเนินโครงการ
๒. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
๓. เสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุน
๑. ร้านอาหารและแผงลอยผ่านการประเมินตามเกณฑ์ร้อยละ ๙๐ ๒. ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย และ มีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารที่ ถูกต้อง ๓. ประชาชนได้รับการดูแลด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2568 13:48 น.