กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม ”
ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางซีซ๊ะ สาเหล็ม




ชื่อโครงการ โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-01-04 เลขที่ข้อตกลง 10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4156-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,952.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพและดำเนินงานด้านสาธารณสุขในยุคปัจจุบันนั้น ความเกี่ยวข้องระหว่างศาสนากับสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญประการหนึ่งที่มีการกล่าวถึงอยู่ไม่น้อย ดังเช่นศาสนาอิสลาม หากย้อนกลับไปพิจารณาวิถีของอิสลาม ซึ่งเป็นวิถีในการดำเนินชีวิตที่สมบูรณ์และครอบคลุมทุกๆด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นสิ่งที่มุสลิมทุกคนต้องนำมาปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่หัวใจ และจิตใจของมนุษย์จนครอบคลุมทุกส่วนของร่างกายรวมไปถึงสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ใช้ชีวิตอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดกรอบความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสุขภาพกับศาสนพิธี หรือ “อิบาดะอ์” เช่น การละหมาด การถือศีลอด การอาบน้ำละหมาด การออกกำลังกาย โภชนาการ การพักผ่อน การป้องกัน การรักษา การปฏิบัติตามคำสอนของอิสลามจึงเป็นการปฏิบัติดีเกี่ยวกับสุขภาพไปพร้อมกันด้วย
จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีการดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ,ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม,ความเครียด,การพักผ่อนไม่เพียงพอ และการดื่มเหล้าสูบบุหรี่ ฯลฯ นำไปสู่การเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดล้วนเกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงและการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในระยะยาว ส่งผลกระทบทั้งต่อตัวผู้ป่วยเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ ทั้งนี้ ในพื้นที่ตำบลเกะรอก็เช่นเดียวกัน ปัจจุบันยังมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ฯลฯ ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่มาโดยตลอดและได้มีความพยายามในการดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยคาดหวังว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่มีความยั่งยืน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด จากข้อมูลการสำรวจสถานะสุขภาพของตำบลเกะรอปี 2567 พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 221 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91 ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 531 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.98 อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดต่อประชากร (รวมทุกกลุ่มประชากร) คิดเป็นร้อยละ 0.29
จากข้อมูลดังกล่าว ประชาชนตำบลเกะรอได้ตระหนักถึงปัญหาและเห็นความสำคัญในการดูและสุขภาพของตนเอง รวมถึงเข้าใจสาเหตุและสภาพปัญหาทางด้านสุขภาพต่างๆที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีวิถีมุสลิม และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของประชาชนตำบลเกะรอ โดยเพิ่มแนวคิด/รูปแบบของการส่งเสริมสุขภาพที่มีต้นแบบมาจากท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซ.ล.) มาใช้บูรณาการในการดูแลสุขภาพนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีชีวิตในแบบมุสลิม และในการดำเนินกิจกรรมมีการใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา เป็นเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างเครือข่ายการทำงานระหว่างบุคลากรสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ โดยมุ่งหวังให้เกิดการตระหนัก การมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจภูมิปัญญาของคนในชุมชน เพื่อต่อยอดและยกระดับสู่การเป็นชุมชนตัวอย่างต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม
  2. อบรมให้ความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
  2. ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น
  3. ประชาชนตำบลเกะรอมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง นำไปสู่การเป็นชุมชนต้นแบบสุขภาพดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง

 

2 เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม (2) อบรมให้ความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4156-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซีซ๊ะ สาเหล็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด