กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง ”
ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายวรากร ปากอ่อน




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1544-01-010 เลขที่ข้อตกลง 010/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หาดสำราญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดสำราญ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1544-01-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หาดสำราญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายเป็นปัญหาของคนทั่วโลก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของ ประเทศไทย จากรายงานการตรวจราชการงาน สุขภาพจิตปีงบประมาณ 2567 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จประเทศไทยจากใบมรณบัตร พบว่า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี พ.ศ. 2564, 2565, 2566อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ เท่ากับ 7.38, 7.97,8.0 ต่อประชากร แสนคน ตามลำดับ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฆ่าตัวตายสำเร็จ ในปีงบประมาณ 2567 สมมติฐานในคนไทยตามแนวคิด  TK model พบว่า ผู้ชายมีจำนวนการฆ่าตัวตายสำเร็จสูงกว่าผู้หญิง 4 เท่า จำนวนของผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ จะอยู่ในกลุ่มอายุ 20-59 ปี คิดเป็น ร้อยละ 70.95 แต่เมื่อนำมาเปรียบเทียบรายกลุ่มอายุ จะพบว่ากลุ่มวัยสูงอายุ (60 ปี ขึ้นไป) เป็นกลุ่มที่มีการฆ่าตัวตายรายอายุ (Age specific death rate) สูงสุด (อัตรา 4.17 ต่อประชากรแสนคน)กลุ่มอาชีพที่มีจำนวนผู้ฆ่าตัวตายสูง คือ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน (ร้อยละ 36.8 ) รองลงมา คือ เกษตรกร ( ร้อยละ 25.1) และค้าขาย (ร้อยละ 4.6) วิธีการที่ใช้ พบว่า ร้อยละ 94 เป็นการแขวนคอ รองลงมา คือ การใช้ยากำจัดวัชพืช / ยาฆ่าแมลง (ร้อยละ 2.4) สารเคมี ( ร้อยละ 1.14 ) และอาวุธปืน ร้อยละ ( 1.05 ) ปัจจัยเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ได้แก่ 1) กลุ่มผู้ป่วยโรคจิตเวชร้อยละ 23.0 (โรคจิตร้อยละ 10.5 และโรคซึมเศร้า ร้อยละ 10.5 ) 2) ติดสารเสพติด ร้อยละ 21.8 3) ติดสุรา  ร้อยละ 19.5 4) มีบุคลิกภาพหุนหันพลันแล่น ร้อยละ 17.4 5) เคยทำร้ายตนเอง ร้อยละ 10.9 6) ป่วยด้วยโรคทางกายรุนแรง/เรื้อรัง ร้อยละ 10.74 และ 7) Childhood trauma ร้อยละ 4.3 ส่วนปัจจัยกระตุ้น ได้แก่ ประสบปัญหาชีวิต หรือ มีเหตุการณ์วิกฤต ที่ติดว่า พ่ายแพ้ล้มเหลว อับอายขายหน้า อับจนหนทาง มีมากถึงร้อยละ 60.9 รองลงมาคือ เกิดจากฤทธิ์สารเสพติด ร้อยละ 20.7 อาการทางจิตกำเริบ ร้อยละ 20.2 และรับรู้ข่าวการฆ่าตัวตาย ร้อยละ 5.1 มีการแสดงถึงสัญญาณเตือน การฆ่าตัวตาย ร้อยละ 39.6 จากข้อมูลจังหวัดตรัง อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ มีจำนวน 13 ราย อำเภอหาดสำราญจำนวน 5 ราย ตำบลหาดสำราญจำนวน 3ราย และพบผู้ป่วยในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหาดสำราญ  จำนวน 2 ราย
      สถานการณ์ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี (ตุลาคม 2566– มีนาคม 2567) จากรายงานแบบรายงานการเฝ้าระวังผู้พยายามทำร้ายตนเอง รง 506S พบว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้าย ตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ร้อยละ 98.87 ซึ่งต้องมีการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่มีการกำหนด มาตรการให้เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ โดยอาศัยญาติกลุ่มเสี่ยง ประชาชนในพื้นที่ให้มีความรู้ ความเข้าใจในสัญญาณเตือน การเฝ้าระวัง การจัดสิ่งแวดล้อมในป้องกันการฆ่าตัวตาย มีการพัฒนาเครือข่ายระดับหมู่บ้าน ตำบลเฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตายให้มีความเข้มแข็งบูรณาการร่วมกับ 3 หมอ/กลไก พชต. ในพื้นที่เสี่ยงสูงและเพิ่มช่องทางการสื่อสารสัญญาณเตือน/ช่องทางการขอความช่วยเหลือ/ความตระหนักคนใกล้ชิด/การจัดทำมาตรการป้องกันการเข้าถึงอาวุธที่ทำร้ายตนเองในระดับชุมชน เน้นเฝ้าระวังกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคทาง จิตเวชและยาเสพติดในคลินิก และการติดตามดูแลต่อเนื่องในชุมชน  เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายเชิงรุกในพื้นที่และถอดบทเรียนในพื้นที่ดำเนินงาน  เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการดูแลช่วยเหลือทันเวลาเมื่อประสบปัญหา     ดังนั้น รพ.สต.หาดสำราญ ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยงขึ้น เพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันการฆ่าตัวตายในพื้นที่มีการกำหนด มาตรการให้เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 28
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำชุมชนมีความรู้การคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
    2. ผู้ป่วยโรคจิตและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 68
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 28
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 68-L1544-01-010

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวรากร ปากอ่อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด