โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-08 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5287-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาทางจิตที่เกิดจากการเรียนและความกดดันทางสัมคม เป็นประเด็นสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเยาวชนและประชากรในวัยเรียนอย่างชัดเจน ความคาดหวังจากครอบครัว สถาบันการศึกษา และสังคม รวมถึงการแข่งขันที่สูงขึ้นในด้านการเรียนและการเข้าสู่ตลาดแรงงาน ทำให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล และปัญหาสุขภาพจจิตอื่นๆ เช่น ภาวะซึมเศร้า คสามรู้สึกไร้ค่า และการขาดความมั่นใจในตนเอง ความกดดันทางสังคม เช่น การเปรียบเทียบ ความสำเร็จระหว่างบุคคล การใช้โซเชียลมีเดีย และการขาดพื้นที่ปลอดภัยในการแสดงออกทางความรู้สึก ยิ่งทำให้ปัญหาสุขภาพจิตรุนแรงขึ้น ซึ่งอาจนำไปสู่พฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเอง เช่น การหลีกเลี่ยงสังคม การใช้สารเสพติด หรือแม้กระทั่งการทำร้ายตัวเอง แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ หทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนจะพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ยังคงมีข้อจำกัดในการเข้าถึงข้อมูลและบริการทางสุขภาพจิตในกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะในโรงเรียนและสถาบันการศึกษา และจากข้อมูลสถิติผู้ป่วยซึมเศร้า พบว่า ผู้ป่วยซึมเศร้าในพื้นที่ตำบลท่าแพ ในช่วงวัยรุ่นมากกว่าในช่วงวัยอื่นๆ ในปีงบประมาณ 2566 มีจำนวน 12 ราย ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 24 ราย เห็นอย่างชัดเจนเลยว่า จำนวนผู้ป่วยซึมเศร้ามีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น โครงการที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจิตที่เกิดจากการเรียน ความกดันทางสัมคมและความเครียดไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม อาจพัฒนาไปสู่ภาวะซึมเศร้า ซึ่งเป็นโรคทางจิตเวชที่มีลักษณะอาการเด่น คือความรู้สึกเศร้า หดหู้ ขาดความสนใจในกิจกรรมต่างๆ รวมถึงความคิดอยากทำร้ายตัวเองหรือฆ่าตัวตาย หากไม่ได้รับการรักษาภาวะซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ การทำงานและคุณภาพชีวิตโดยรวม ในปัจจุบันปัญหาเหล่านี้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยทางสังคม เช่น การแข่งขันในระบบการศึกษา ความกดดันจากการเปรียบเทียบในสื่อโซเชียล และการขาดระบบสนับสนุนทางอารมณ์ใรครอบครัวและชุมชน จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างตระหนักรู้ให้ความช่วยเหลือ และพัฒนาทักษะการจัดการความเครียดในกลุ่มนักเรียน นักศึกษาและผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง เพื่อสร้างสุขภาพจิตที่ดีและยั้งยืนในระยะยาว สภาเด็กและเยาวชน สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าแพ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำฏครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย
- 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ
- 3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งทางร่างกายและจืตใจ
- ผู้เข้าโครงการมีความรู้เกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือต่างๆ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ฯลฯ และมีความรู้เรื่องการใช้งานแอปพลิเคชั่น ด้านสุขภาพจิตสำหรับใช้ในยามฉุกเฉิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ผู็เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า
100.00
2
2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 รู้จักวิธีการดูแลและฟื้นฟูภาวะซึมเศร้า ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
100.00
3
3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 มีความรู้การใช้แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิตมากขึ้น และรู้จักแนวทางการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย (2) 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ (3) 3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-08 เลขที่ข้อตกลง 07/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5287-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาทางจิตที่เกิดจากการเรียนและความกดดันทางสัมคม เป็นประเด็นสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเยาวชนและประชากรในวัยเรียนอย่างชัดเจน ความคาดหวังจากครอบครัว สถาบันการศึกษา และสังคม รวมถึงการแข่งขันที่สูงขึ้นในด้านการเรียนและการเข้าสู่ตลาดแรงงาน ทำให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล และปัญหาสุขภาพจจิตอื่นๆ เช่น ภาวะซึมเศร้า คสามรู้สึกไร้ค่า และการขาดความมั่นใจในตนเอง ความกดดันทางสังคม เช่น การเปรียบเทียบ ความสำเร็จระหว่างบุคคล การใช้โซเชียลมีเดีย และการขาดพื้นที่ปลอดภัยในการแสดงออกทางความรู้สึก ยิ่งทำให้ปัญหาสุขภาพจิตรุนแรงขึ้น ซึ่งอาจนำไปสู่พฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อตนเอง เช่น การหลีกเลี่ยงสังคม การใช้สารเสพติด หรือแม้กระทั่งการทำร้ายตัวเอง แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ หทั้งหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนจะพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว แต่ยังคงมีข้อจำกัดในการเข้าถึงข้อมูลและบริการทางสุขภาพจิตในกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะในโรงเรียนและสถาบันการศึกษา และจากข้อมูลสถิติผู้ป่วยซึมเศร้า พบว่า ผู้ป่วยซึมเศร้าในพื้นที่ตำบลท่าแพ ในช่วงวัยรุ่นมากกว่าในช่วงวัยอื่นๆ ในปีงบประมาณ 2566 มีจำนวน 12 ราย ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 24 ราย เห็นอย่างชัดเจนเลยว่า จำนวนผู้ป่วยซึมเศร้ามีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น โครงการที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางจิตที่เกิดจากการเรียน ความกดันทางสัมคมและความเครียดไม่ได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม อาจพัฒนาไปสู่ภาวะซึมเศร้า ซึ่งเป็นโรคทางจิตเวชที่มีลักษณะอาการเด่น คือความรู้สึกเศร้า หดหู้ ขาดความสนใจในกิจกรรมต่างๆ รวมถึงความคิดอยากทำร้ายตัวเองหรือฆ่าตัวตาย หากไม่ได้รับการรักษาภาวะซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ การทำงานและคุณภาพชีวิตโดยรวม ในปัจจุบันปัญหาเหล่านี้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยทางสังคม เช่น การแข่งขันในระบบการศึกษา ความกดดันจากการเปรียบเทียบในสื่อโซเชียล และการขาดระบบสนับสนุนทางอารมณ์ใรครอบครัวและชุมชน จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างตระหนักรู้ให้ความช่วยเหลือ และพัฒนาทักษะการจัดการความเครียดในกลุ่มนักเรียน นักศึกษาและผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง เพื่อสร้างสุขภาพจิตที่ดีและยั้งยืนในระยะยาว สภาเด็กและเยาวชน สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าแพ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำฏครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย
- 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ
- 3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งทางร่างกายและจืตใจ
- ผู้เข้าโครงการมีความรู้เกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือต่างๆ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ฯลฯ และมีความรู้เรื่องการใช้งานแอปพลิเคชั่น ด้านสุขภาพจิตสำหรับใช้ในยามฉุกเฉิน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ผู็เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า |
100.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 รู้จักวิธีการดูแลและฟื้นฟูภาวะซึมเศร้า ทั้งทางร่างกายและจิตใจ |
100.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 มีความรู้การใช้แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิตมากขึ้น และรู้จักแนวทางการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าแก่เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย (2) 2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ส่งเสริมการดูแลฟื้นฟูผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า ทั้งร่างกายและจิตใจ (3) 3. เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งช่วยเหลือ เช่น สายด่วนสุขภาพจิต ศูนย์ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เช่น แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพจิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และกิจกรรมฐานการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแสงสว่างในที่มืดมน ก้าวผ่านภาวะซึมเศร้าด้วยความเข้าใจและพลังแห่งการโอบรับ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5287-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรฟาเดีย เตบสัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......