กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางรสนา มะลี




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L8411-01-68-08 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L8411-01-68-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,268.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกกลายเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและการแพทย์ของประเทศเพราะแต่ละปีมีผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจเข้าสู่ภาวะช็อก และทำให้เสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้อง จากข้อมูกทางระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 – 2547 ได้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างรุนแรงที่สุด ซึ่งน่าสังเกตว่าในปัจจุบันการระบาดมิได้เกิดเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น แต่ยังควรมีการระบาดได้ทุกฤดูกาล จึงจำเป็นต้องมีการป้องกันโรคอย่างต่อเนื่อง โดยการควบคุมพาหนะนำโรคไข้เลือดออกทั้งที่บ้าน โรงเรียน และในชุมชน ซึ่งวิธีการป้องกันที่ดีที่สุดคือการควบคุมจำนวนลูกน้ำยุงลาย โดยการกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้หมดไป และการพ่นสารเคมีควบคุมยุงตัวเต็มวัย ตามมาตรฐานการควบคุมโรคไข้เลือดออก แต่ทั้งนี้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน เนื่องจากกิจกรรมส่วนใหญ่ต้องอาศัยชุมชน และเจ้าของอาคาร สถานที่ในการดำเนินการ และความร่วมมือจากหน่วยงานในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จังหวัดยะลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2567 ทางสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก คือ 282.61 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 1,260 ราย) อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.24 (เสียชีวิต 3 ราย) เมื่อจำแนกอัตราป่วย รายอำเภอ พบว่า อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงที่สุด คือ อำเภอกรงปินัง มีอัตราป่วย 533.02 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 105 ราย) อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.95 (เสียชีวิต 1 ราย) รองลงมา คือ อำเภอรามัน มีอัตราป่วย คือ 476.55 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 370 ราย) อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.54 (เสียชีวิต 2 ราย) และอำเภอกาบัง มีอัตราป่วย 428.52 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 61 ราย) ไม่พบรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก สำหรับในพื้นที่ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ปี 2567 พบว่า มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก คือ 325.92 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 177 ราย) ไม่พบรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต เมื่อจำแนกอัตราป่วยรายตำบล พบว่า ตำบลที่มีอัตราป่วยสูงที่สุด คือ ตำบลถ้ำทะลุ มีอัตราป่วย 847.46 ต่อประชากร แสนคน (จำนวน 22 ราย) รองลงมา คือ ตำบลเขื่อนบางลาง มีอัตราป่วย คือ 439.20 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 16 ราย) รองลงมา คือ ตำบลตลิ่งชัน มีอัตราป่วย 339.34 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 45 ราย)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทำนบ ปี 2563 - 2567 พบว่า มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี 2563 อัตราป่วย 83.00 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 8 ราย) ปี 2564 ไม่พบรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี 2565 อัตราป่วย 31.13 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 3 ราย) และปี 2566 อัตราป่วย 155.63 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 15 ราย) และปี 2567 อัตราป่วย 176.39 ต่อประชากรแสนคน (จำนวน 17 ราย) ไม่พบรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกอัตราป่วยและการระบาดของโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มระบาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก ทำให้มีการแพร่ระบาดและมีผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาดังกล่าว การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ได้ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของคนในชุมชน โดยเฉพาะในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลาที่มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกทุกปี ดังนั้น การจัดทำโครงการขึ้น เพื่อเป็นการการควบคุมยุงลายในชุมชนไม่ให้มีการแพร่ระบาดเกิดขึ้น และการดำเนินการควบคุมโรคเป็นไปตามมาตรฐาน 3 3 1 ของกรมควบคุมโรค การควบคุมโรคไข้เลือดออกผู้ป่วยรายใหม่ครอบคลุมรอบบ้านผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร สามารถหยุดยั้งการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกได้รวดเร็ว และทันเวลา รวมทั้งการให้ความรู้ในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งจะทำให้ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกกับตนเองได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.และทีมควบคุมโรคสามารถพ่นหมอกควันได้ทันท่วงที
  2. เพื่ออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
  3. เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พ่นหมอกควันในชุมชนและพื้นที่เสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.และทีมควบคุมโรคสามารถพ่นหมอกควันได้ทันท่วงที
2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี 3.ประชาชนมีความรู้ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก มีพฤติกรรมที่ดีในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน ชุมชน หมู่บ้าน โดยประชาชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม.และทีมควบคุมโรคสามารถพ่นหมอกควันได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่ออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.และทีมควบคุมโรคสามารถพ่นหมอกควันได้ทันท่วงที (2) เพื่ออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (3) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควันในชุมชนและพื้นที่เสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L8411-01-68-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรสนา มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด