NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-1-6 เลขที่ข้อตกลง 30/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย เพราะ เป็นหนึ่งในห้าของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดปัจจุบันผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยมีเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2563 มีความชุกร้อยละ 9.5 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มากกว่า 300000(สามแสน) รายต่อปีคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2588 จะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 783 ล้านคน ด้วยเหตุที่จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี แต่ทรัพยากรด้านสาธารณสุข ตลอด ถึงเวลาในการให้บริการ มีอย่างจำกัด ทำให้ประสิทธิภาพในการให้บริการไม่เต็มที่ ผู้ป่วยขาดทักษะด้านการจัดการตนเอง ควบคุมโรคได้ไม่ถูกต้อง ทำให้กลุ่มป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน จนถึงพิการหรือเสียชีวิตเพิ่มขึ้นการจัดระบบการดูแลให้เกิดประสิทธิภาพ มุ่งหวัง “ เบาหวานสงบ “เบาหวานหายได้เป็นเป้าหมายการทำงานใหม่ที่ เพื่อสร้างความหวัง และกำลังใจให้กับประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และผู้ให้บริการ ในการดูแลสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคร่วมจากการใช้ยาปริมาณมาก รวมถึงการควบคุมภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง อันนำไปสู่ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรกระบวนการนี้ต้องสร้างความเข้าใจ ในรายที่ตั้งใจ โดยให้ฝึกทักษะ เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐาน อันจะนำไปสู่การฝึกปฏิบัติ ควบคู่กับวิชาการ เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตของ กลุ่มป่วยเบาหวานได้ ให้สามารถ มีความรู้ ดูแลตนเอง เพื่อการอยู่กับเบาหวานได้ โดยลดการใช้ยา กระบวน การลดระดับน้ำตาลแบบนี้ เรียกการรักษาว่า “DiabetesRemission” หรือโรคเบาหวานสู่ระยะสงบ จะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่คลองขุดให้เข้าใจและสามารถควบคุมโรคเบาหวานที่ป่วยอยู่ให้ดีขึ้น ลดการสูญเสีย และเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด มีผู้ป่วยเบาหวานที่มรับยาในคลินิกปี 2568 จำนวน 108 คน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด จัดให้มีบริการเดือนละ 2 ครั้ง ในวันพฤหัสบดีที่ 1 และ 2 ของเดือน โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ชุมชมและเภสัชกรจากโรงพยาบาลสตูล ออกให้บริการตรวจผู้ป่วยในคลินิกถ้าพบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนจะมีการส่งต่อโรงพยาบาลสตูล ข้อมูลจาก HDC จังหวัดสงขลา ในปี 2567 มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 57 คน คุมน้ำตาลได้ดี มีค่า HbA1c ไม่เกิน 7 จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 28.92 และผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่าร้อยละ 7 จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 39.75
ในปี 2568 มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 60 คน คุมน้ำตาลได้ดี มีค่าHbA1c ไม่เกิน 7 จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 35.21 และผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่าร้อยละ 7 จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 49.29 ในปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดได้ดำเนินการ คัดกรองค้นหากลุ่มสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดป่วย ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ผู้มีค่า HbA1c มากกว่า 7 ได้ดำเนินการให้เข้าร่วมโครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน มีผู้สมัครใจ จำนวน 30 ราย เพื่อให้เกิดความรู้ เสริมสร้างทักษะ ในการดูแลตนเองเพื่อให้โรคเบาหวานอยู่เข้าสู่ระยะสงบ (DiabetesRemission) เกิดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เช่น การสร้างความมั่นใจในการเจาะเลือดด้วยตัวเองเพื่อติดตามระดับน้ำตาล มีการจัดการเรียนในห้องเรียน โดยทีมวิทยากรและมีการติดตามภาวะสุขภาพผ่าน การสื่อสารทางไลน์ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการให้เกิดแรงจูงใจ ว่าหมอที่ดีที่สุดในการรักษาสุขภาพ คือ ตัวของเขาเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดจึงได้จัดทำโครงการ NCDs RemissionClinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวานครั้งนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยเบาหวาน แกนนำและเจ้าหน้าที่
- ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง
ผลลัพธ์
1.กลุ่มป่วย/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง
2.กลุ่มป่วย ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าที่และแกนนำในการให้คำแนะนำดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยเบาหวาน แกนนำและเจ้าหน้าที่ (2) ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-1-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-1-6 เลขที่ข้อตกลง 30/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย เพราะ เป็นหนึ่งในห้าของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดปัจจุบันผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยมีเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2563 มีความชุกร้อยละ 9.5 และมีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่มากกว่า 300000(สามแสน) รายต่อปีคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2588 จะมีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 783 ล้านคน ด้วยเหตุที่จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี แต่ทรัพยากรด้านสาธารณสุข ตลอด ถึงเวลาในการให้บริการ มีอย่างจำกัด ทำให้ประสิทธิภาพในการให้บริการไม่เต็มที่ ผู้ป่วยขาดทักษะด้านการจัดการตนเอง ควบคุมโรคได้ไม่ถูกต้อง ทำให้กลุ่มป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน จนถึงพิการหรือเสียชีวิตเพิ่มขึ้นการจัดระบบการดูแลให้เกิดประสิทธิภาพ มุ่งหวัง “ เบาหวานสงบ “เบาหวานหายได้เป็นเป้าหมายการทำงานใหม่ที่ เพื่อสร้างความหวัง และกำลังใจให้กับประชาชน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และผู้ให้บริการ ในการดูแลสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคร่วมจากการใช้ยาปริมาณมาก รวมถึงการควบคุมภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง อันนำไปสู่ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรกระบวนการนี้ต้องสร้างความเข้าใจ ในรายที่ตั้งใจ โดยให้ฝึกทักษะ เรียนรู้ทฤษฎีพื้นฐาน อันจะนำไปสู่การฝึกปฏิบัติ ควบคู่กับวิชาการ เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตของ กลุ่มป่วยเบาหวานได้ ให้สามารถ มีความรู้ ดูแลตนเอง เพื่อการอยู่กับเบาหวานได้ โดยลดการใช้ยา กระบวน การลดระดับน้ำตาลแบบนี้ เรียกการรักษาว่า “DiabetesRemission” หรือโรคเบาหวานสู่ระยะสงบ จะช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่คลองขุดให้เข้าใจและสามารถควบคุมโรคเบาหวานที่ป่วยอยู่ให้ดีขึ้น ลดการสูญเสีย และเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด มีผู้ป่วยเบาหวานที่มรับยาในคลินิกปี 2568 จำนวน 108 คน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด จัดให้มีบริการเดือนละ 2 ครั้ง ในวันพฤหัสบดีที่ 1 และ 2 ของเดือน โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ชุมชมและเภสัชกรจากโรงพยาบาลสตูล ออกให้บริการตรวจผู้ป่วยในคลินิกถ้าพบผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนจะมีการส่งต่อโรงพยาบาลสตูล ข้อมูลจาก HDC จังหวัดสงขลา ในปี 2567 มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 57 คน คุมน้ำตาลได้ดี มีค่า HbA1c ไม่เกิน 7 จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 28.92 และผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่าร้อยละ 7 จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 39.75
ในปี 2568 มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 60 คน คุมน้ำตาลได้ดี มีค่าHbA1c ไม่เกิน 7 จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 35.21 และผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่าร้อยละ 7 จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 49.29 ในปี 2568 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดได้ดำเนินการ คัดกรองค้นหากลุ่มสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดป่วย ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ผู้มีค่า HbA1c มากกว่า 7 ได้ดำเนินการให้เข้าร่วมโครงการ DM Remission ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน มีผู้สมัครใจ จำนวน 30 ราย เพื่อให้เกิดความรู้ เสริมสร้างทักษะ ในการดูแลตนเองเพื่อให้โรคเบาหวานอยู่เข้าสู่ระยะสงบ (DiabetesRemission) เกิดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เช่น การสร้างความมั่นใจในการเจาะเลือดด้วยตัวเองเพื่อติดตามระดับน้ำตาล มีการจัดการเรียนในห้องเรียน โดยทีมวิทยากรและมีการติดตามภาวะสุขภาพผ่าน การสื่อสารทางไลน์ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการให้เกิดแรงจูงใจ ว่าหมอที่ดีที่สุดในการรักษาสุขภาพ คือ ตัวของเขาเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุดจึงได้จัดทำโครงการ NCDs RemissionClinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวานครั้งนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยเบาหวาน แกนนำและเจ้าหน้าที่
- ติดตามผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ 1.กลุ่มป่วย/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง 2.กลุ่มป่วย ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านจากเจ้าหน้าที่และแกนนำในการให้คำแนะนำดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ป่วยเบาหวาน แกนนำและเจ้าหน้าที่ (2) ติดตามผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
NCDs Remission Clinic ลดยาลดโรคในผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-1-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกาญจนรัตน์ วิริยะสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......