กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซเฟียวิชญา ด้วงทอง




ชื่อโครงการ Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-68-1-7 เลขที่ข้อตกลง 31/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้าในปัจจุบันของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกด้านตั้งแต่วัยรุ่นเป็นต้นไป จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน เนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายที่ผ่านมายังไม่เป็นรูปธรรม ขาดการบรูณาการแบบมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน รวมถึงการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับพิษภัย อันตรายของบุหรี่ไฟฟ้า และการรู้เท่าทัน กลยุทธ์ทางการตลาดของบริษัทยาสูบข้ามชาติยังไม่ครอบคลุมและต่อเนื่อง จึงจำเป็นต้องประสานความร่วมมือ อย่างเป็นระบบและเข้มข้นจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคีเครือข่าย และในปัจจุบัน บุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้ากลายเป็นที่นิยมในกลุ่มวัยรุ่น โดยเฉพาะนักเรียน เนื่องจากความเข้าใจผิดว่าบุหรี่ ไฟฟ้าปลอดภัยกว่าบุหรี่ทั่วไป อย่างไรก็ตาม งานวิจัยพบว่าบุหรี่ไฟฟ้ามีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดิน หายใจ หัวใจ และสุขภาพจิต อีกทั้งยังเสี่ยงต่อการติดนิโคตินและสารเสพติดอื่นๆ เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือด เป็นต้น และประเด็นสำคัญคือทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ ซึ่งมีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่แตกต่างจากคนสูบบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่  จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี 2550 พบว่าคนไทยที่อายุเกิน 15 ปี และสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 11 ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำ และอีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งเป็นคราว เมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจเมื่อ พ.ศ.2549 พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5) เชื่อกันว่าเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบและไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 4 หรือกว่า 2 ล้านคน
โครงการนี้จึงมีเป้าหมายในการสร้างความตระหนักรู้ให้แก่นักเรียน มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ผลกระทบทางสุขภาพ พร้อมเสริมทักษะในการปฏิเสธและเลือกวิธีการป้องกันที่ปลอดภัย ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้าและการลด ละ เลิกในกลุ่มสูบเพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีทั้งทางกายและจิต
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพในกลุ่มเยาวชนในการดูแลสุขภาพลด ละ เลิกการใช้บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า จึงได้จัดทำโครงการ โครงการ Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียน
  2. กิจกรรมให้คำแนะนำ รณรงค์ลด ละ เลิก ในชุมชน ได้แก่ เจ้าหน้าที่/แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต เยาวชนนักเรียน/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีความรู้ รู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ผลลัพธ์ 1.เยาวชนนักเรียน/แกนนำ ที่ผ่านการอบรม มีการดูแลสุขภาพตนเองไม่ใช้บุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า 2.แกนนำชุมชนส่งเสริม/แนะนำให้ประชาชนในชุมชนไม่ใช้บุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียน (2) กิจกรรมให้คำแนะนำ รณรงค์ลด ละ เลิก ในชุมชน  ได้แก่ เจ้าหน้าที่/แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


Strong And No Smoking ร่วมสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-68-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโซเฟียวิชญา ด้วงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด