โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ สุวาหลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-3-5 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-3-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคประชาชน ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้พิการและผู้ดูแลให้เข้าถึงสิทธิและให้ได้มาด้วยสิทธิอันพึงจะได้รับตามกฎหมาย ในทุกด้านรวมถึงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้พิการตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย รวมถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนพิการและผู้ดูแลให้ดีขึ้น อยู่ร่วมสังคมอย่างปกติสุข
บุคคลออทิสติก เป็นผู้พิการที่มีลักษณะอาการของโรคออทิซึม มีความบกพร่องเกี่ยวกับระบบการทำงานที่ผิดปกติของสมอง รวมถึงระบบการรับรู้และกลไกการเคลื่อนไหวของข้อต่อ ส่งผลให้มีปัญหาในด้านพฤติกรรม ด้านการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และด้านการสื่อสาร การขี่สัตว์เพื่อการบำบัด เช่น อาชาบำบัด การนั่งช้างเล่น เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพและแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมที่มีการเคลื่อนไหวผิดปกติหรือมีท่าทางแปลกๆ เป็นการรักษาทางเลือก ที่สามารถช่วยเหลือบุคคลออทิสติก ลดการพึ่งพาทางการแพทย์ ที่ต้องรับยาหรือใช้ยาในการควบคุมพฤติกรรมบุคคลออทิสติก ซึ่งการรับประทานยาประจำอาจส่งผลกระทบข้างเคียงจากการใช้ยารักษาได้ในระยะยาว แต่ตามสภาพความเป็นจริง ผู้พิการยังขาดโอกาสในการเข้ารับบริการต่างๆ ด้วยค่าใช่จ่าย ระยะทางในการเดินทาง ผู้ดูแลไม่สามารถนำผู้พิการทำกิจกรรมพัฒนาต่างๆได้ ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของบุคคลออทิสติกและเด็กพิเศษ จึงจัดทำ “โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัว สำหรับบุคคลออทิสติก” ขึ้น เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้ดูแล บุคคลออทิสติกและเด็กพิเศษ
การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว ทำให้ผู้พิการมีพัฒนาการที่ดีขึ้นในทุกด้าน การรับรู้ของข้อต่อทำให้การเคลื่อนไหวซ้ำๆลดและหายไป การทรงตัวทำให้มีการประสานสัมพันธ์กันของการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆในการทำงาน ผ่านกิจกรรมนั่งเรือบำบัด นั่งโยกเยกคู่ การใช้ลู่วิ่งสำหรับเด็ก และเบาะยิมนาสติก ทำให้บุคคลออทิสติกมีการปรับตัว ลดพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ ข้อต่อและการทรงตัว ระบบการตอบสนองของสมองต่อการรับรู้และการเคลื่อนไหว ทำให้บุคคลออทิสติกนิ่งขึ้น เกิดสมาธิและความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันและทำงานต่างๆได้ด้วยตนเอง ลดภาระการดูแลช่วยเหลือของผู้ปกครองหรือผู้แล อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดหา จัดซื้อ สื่อ อุปกรณ์การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย
- การอบรมความรู้ การใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาข้อต่อและการทรงตัว
- ค่าวัสดุอื่นที่ใช้ และการฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลออทิสติกและผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
๑. ครู อาสาสมัคร ผู้ดูแลและคนพิการ มีความรู้และประสบการณ์ การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว
๒. ผู้พิการมีและใช้สื่ออุปกรณ์ ฝึกทรงตัวและการรับรู้ของข้อต่อในการเคลื่อนไหวร่างกาย
๒.๑ ที่นั่งโยกเยก นั่งคู่ จำนวน ๑ อัน
๒.๒ ลู่วิ่งสำหรับเด็ก จำนวน ๑ ชุด
๒.๓ เบาะยิมนาสติก พับได้ จำนวน ๒ ลูก
๒.๔ เรือบำบัด ทรงแม่ค้า ชนิดอัดโฟม จำนวน ๑ ลำ
๓. ผู้พิการมีสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัวดีขึ้น ตาม
แผนพัฒนาศักยภาพคนพิการรายบุคคล
ผลลัพธ์
๑. ครู อาสาสมัคร ผู้ดูแลและคนพิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้และประสบการณ์ การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว
๒. ผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีและใช้สื่ออุปกรณ์ ฝึกทรงตัวและการรับรู้ของข้อต่อในการเคลื่อนไหวร่างกาย
๒.๑ ที่นั่งโยกเยก นั่งคู่ จำนวน ๑ อัน
๒.๒ ลู่วิ่งสำหรับเด็ก จำนวน ๑ ชุด
๒.๓ เบาะยิมนาสติก พับได้ จำนวน ๒ ลูก
๒.๔ เรือบำบัด ทรงแม่ค้า ชนิดอัดโฟม จำนวน ๑ ลำ
๓. ผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัวดีขึ้น ตามแผนพัฒนาศักยภาพคนพิการรายบุคคล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดหา จัดซื้อ สื่อ อุปกรณ์การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย (2) การอบรมความรู้ การใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาข้อต่อและการทรงตัว (3) ค่าวัสดุอื่นที่ใช้ และการฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลออทิสติกและผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-3-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมบูรณ์ สุวาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ สุวาหลำ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-3-5 เลขที่ข้อตกลง 32/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-68-3-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคประชาชน ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้พิการและผู้ดูแลให้เข้าถึงสิทธิและให้ได้มาด้วยสิทธิอันพึงจะได้รับตามกฎหมาย ในทุกด้านรวมถึงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้พิการตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย รวมถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนพิการและผู้ดูแลให้ดีขึ้น อยู่ร่วมสังคมอย่างปกติสุข
บุคคลออทิสติก เป็นผู้พิการที่มีลักษณะอาการของโรคออทิซึม มีความบกพร่องเกี่ยวกับระบบการทำงานที่ผิดปกติของสมอง รวมถึงระบบการรับรู้และกลไกการเคลื่อนไหวของข้อต่อ ส่งผลให้มีปัญหาในด้านพฤติกรรม ด้านการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และด้านการสื่อสาร การขี่สัตว์เพื่อการบำบัด เช่น อาชาบำบัด การนั่งช้างเล่น เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพและแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมที่มีการเคลื่อนไหวผิดปกติหรือมีท่าทางแปลกๆ เป็นการรักษาทางเลือก ที่สามารถช่วยเหลือบุคคลออทิสติก ลดการพึ่งพาทางการแพทย์ ที่ต้องรับยาหรือใช้ยาในการควบคุมพฤติกรรมบุคคลออทิสติก ซึ่งการรับประทานยาประจำอาจส่งผลกระทบข้างเคียงจากการใช้ยารักษาได้ในระยะยาว แต่ตามสภาพความเป็นจริง ผู้พิการยังขาดโอกาสในการเข้ารับบริการต่างๆ ด้วยค่าใช่จ่าย ระยะทางในการเดินทาง ผู้ดูแลไม่สามารถนำผู้พิการทำกิจกรรมพัฒนาต่างๆได้ ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของบุคคลออทิสติกและเด็กพิเศษ จึงจัดทำ “โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัว สำหรับบุคคลออทิสติก” ขึ้น เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้ดูแล บุคคลออทิสติกและเด็กพิเศษ
การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว ทำให้ผู้พิการมีพัฒนาการที่ดีขึ้นในทุกด้าน การรับรู้ของข้อต่อทำให้การเคลื่อนไหวซ้ำๆลดและหายไป การทรงตัวทำให้มีการประสานสัมพันธ์กันของการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆในการทำงาน ผ่านกิจกรรมนั่งเรือบำบัด นั่งโยกเยกคู่ การใช้ลู่วิ่งสำหรับเด็ก และเบาะยิมนาสติก ทำให้บุคคลออทิสติกมีการปรับตัว ลดพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ ข้อต่อและการทรงตัว ระบบการตอบสนองของสมองต่อการรับรู้และการเคลื่อนไหว ทำให้บุคคลออทิสติกนิ่งขึ้น เกิดสมาธิและความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวันและทำงานต่างๆได้ด้วยตนเอง ลดภาระการดูแลช่วยเหลือของผู้ปกครองหรือผู้แล อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดหา จัดซื้อ สื่อ อุปกรณ์การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย
- การอบรมความรู้ การใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาข้อต่อและการทรงตัว
- ค่าวัสดุอื่นที่ใช้ และการฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลออทิสติกและผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 15 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
๑. ครู อาสาสมัคร ผู้ดูแลและคนพิการ มีความรู้และประสบการณ์ การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว
๒. ผู้พิการมีและใช้สื่ออุปกรณ์ ฝึกทรงตัวและการรับรู้ของข้อต่อในการเคลื่อนไหวร่างกาย
๒.๑ ที่นั่งโยกเยก นั่งคู่ จำนวน ๑ อัน
๒.๒ ลู่วิ่งสำหรับเด็ก จำนวน ๑ ชุด
๒.๓ เบาะยิมนาสติก พับได้ จำนวน ๒ ลูก
๒.๔ เรือบำบัด ทรงแม่ค้า ชนิดอัดโฟม จำนวน ๑ ลำ
๓. ผู้พิการมีสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัวดีขึ้น ตาม
แผนพัฒนาศักยภาพคนพิการรายบุคคล
ผลลัพธ์
๑. ครู อาสาสมัคร ผู้ดูแลและคนพิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้และประสบการณ์ การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัว
๒. ผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีและใช้สื่ออุปกรณ์ ฝึกทรงตัวและการรับรู้ของข้อต่อในการเคลื่อนไหวร่างกาย
๒.๑ ที่นั่งโยกเยก นั่งคู่ จำนวน ๑ อัน
๒.๒ ลู่วิ่งสำหรับเด็ก จำนวน ๑ ชุด
๒.๓ เบาะยิมนาสติก พับได้ จำนวน ๒ ลูก
๒.๔ เรือบำบัด ทรงแม่ค้า ชนิดอัดโฟม จำนวน ๑ ลำ
๓. ผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีสมรรถภาพด้านร่างกาย ระบบประสาทสัมผัสการรับรู้ข้อต่อและการทรงตัวดีขึ้น ตามแผนพัฒนาศักยภาพคนพิการรายบุคคล
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 15 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดหา จัดซื้อ สื่อ อุปกรณ์การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาย (2) การอบรมความรู้ การใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาข้อต่อและการทรงตัว (3) ค่าวัสดุอื่นที่ใช้ และการฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลออทิสติกและผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานของข้อต่อและการทรงตัวสำหรับบุคคลออทิสติก จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-68-3-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมบูรณ์ สุวาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......