กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568 ”
ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายทวี จบสองชั้น




ชื่อโครงการ เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1513-01-011 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1513-01-011 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงเมื่อแต่งงานมีครอบครัว มีการตั้งครรภ์ จะโดยพึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ก็ตาม แต่สภาพสังคมปัจจุบันผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้น ไม่ว่าจะทำงานบ้านและทำงานนอกบ้านควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วยทำให้ขาดการดูแลเอาใจใส่ตัวเองบางครั้งลักษณะของงานที่ทำบางอย่างและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ไม่ถูกต้องจึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ด้วย การสร้างคนไทยรุ่นใหม่ในศตวรรษที่ 21 ให้มีสุขภาพแข็งแรง และปราศจากโรคต้องให้ความสำคัญกับโภชนาการที่ดีตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิต ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิ ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด และเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงสำคัญยิ่งที่จะดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ และเด็ก 0 - 5 ปี ที่ได้มาตรฐาน เพราะเป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สร้างสมองเป็นเครือข่ายเส้นใย เรียนรู้ จดจำ นอกจากนี้การเจริญเติบโตของร่างกายเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน และยังเป็นช่วงของการสร้างอวัยวะต่างๆ ดังนั้น จึงเป็นช่วงที่สำคัญมากใน “2,500 วันแรกของชีวิต”
การพัฒนาคุณภาพเด็กต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงมีครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของแม่และเด็ก เพราะหากหญิงมีครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลและเฝ้าระวังตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้วจะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ได้ เช่น โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง ภาวะการติดเชื้อ HIV จากแม่สู่ลูก เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ถ้าไม่ได้รับการดูแลและแก้ไขต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีขณะตั้งครรภ์แล้ว จะส่งผลกระทบต่อแม่และเด็ก ในด้านความเสี่ยงระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด รวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย6เดือน เพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพทุกประเภทที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงขณะตั้งครรภ์ ในระหว่างคลอดและหลังคลอดรวมทั้งการส่งเสริมให้แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ดังนั้นหญิงมีครรภ์ควรต้องรู้จักวิธีการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้องและเหมาะสม ในเรื่องต่าง ๆ เช่น อาหาร การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา ภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ และการปฏิบัติตนต่างๆ รวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ การเตรียมตัวเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นมากที่แม่ทุกคนควรทราบถึงความสำคัญของการให้นมบุตรด้วยน้ำนมของตนเองเพราะจะทำให้ทารกมีการเจริญเติบโตที่ดี การดูแลตัวเองหลังคลอด และการดูแลเด็กแรกเกิด จากการสำรวจข้อมูลของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดตรัง ประจำปีงบประมาณ 2567 มีหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จำนวน 20 คน มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุ 12 สัปดาห์ จำนวน 11 คน ทำให้หญิงตั้งครรภ์ไม่ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จำนวน 2 คน มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน รวมถึงหญิงตั้งครรภ์ยังขาดความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ด้วยเหตุนี้ ทางสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568” เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีเข้าใจและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องก่อนการตั้งครรภ์ และในหญิงตั้งครรภ์มีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องจนคลอดภายใต้แม่เกิดรอดลูกปลอดภัย รวมถึงสร้างแกนนำสุขภาพสตรีเพื่อขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 2,500 วันแรกของชีวิต โครงการนี้ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์
  2. เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  3. เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์
  4. เพื่อป้องกันการคลอดทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2,500 กรัม)
  5. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
  6. เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์

  2. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์

  3. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความตระหนักในการมารับบริการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์

  4. ทำให้ลดอัตราการคลอดทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2,500 กรัม)

  5. ทำให้ลดอัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์

  6. ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ (BMI มากกว่า 19)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความ เข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์
0.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
0.00

 

3 เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์
0.00

 

4 เพื่อป้องกันการคลอดทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2,500 กรัม)
ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดทารกน้ำหนัก 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
0.00

 

5 เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่า ร้อยละ 10
0.00

 

6 เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ (BMI มากกว่า 19)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์ (2) เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (3) เพื่อกระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เกิดความตระหนักในการมาฝากครรภ์คุณภาพครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ (4) เพื่อป้องกันการคลอดทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (2,500 กรัม) (5) เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ (6) เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ปัญหาภาวะโลหิตจางเพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1513-01-011

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวี จบสองชั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด