โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4141-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4141-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของผู้หญิงไทย และทั่วโลก จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO)ปี 2023 ระบุว่า มีผู้หญิงเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกราว 342,000 คนต่อปีทั่วโลก และเป็นโรคที่สามารถป้องกันและรักษาได้หากตรวจพบตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
ในประเทศไทย จากรายงานของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ (ปี 2565) พบว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2ในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม โดยมีอัตราการเกิดโรคใหม่ประมาณ 7,500 รายต่อปี และมีผู้เสียชีวิตราว 2,000 รายต่อปี
การตรวจคัดกรองด้วยวิธี Pap Smear หรือ HPV DNA Test สามารถช่วยลดอัตราการเกิดโรคและการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญ เข้ารับการอบรมความรู้และตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ จึงเป็นกลยุทธ์สำคัญในการควบคุมโรคนี้ในระดับชุมชน
จากการสรุปผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2567 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ พบว่าสตรีกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการตรวจคัดกรองเพียง 138 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.43 จากประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 1,027 คน ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ชี้วัดตามยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ปี 2568 สาเหตุส่วนใหญ่มาจากกลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่ไม่เข้ารับบริการไม่กล้ามาตรวจ,กลัวเจ็บและบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญของการตรวจมะเร็งปากมดลูกและปัจจุบันนี้ตรวจคัดกรองด้วยวิธี HPV DNA Test ซึ่งผู้รับบริการเป็นผู้ตรวจด้วยตนเอง จึงช่วยลดความเขินอายได้ ด้วยเหตุนี้ โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จึงจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงมีความรู้ ความตระหนัก และเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองได้อย่างสะดวกและต่อเนื่อง อันจะนำไปสู่การลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 70
- ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม
2
เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเป้าหมาย (จำนวน 50 คน)
3
เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการอบรมและการตรวจคัดกรองในระดับ “มาก” ถึง “มากที่สุด” ตามแบบประเมินความพึงพอใจ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ (3) เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4141-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดุษฎี ปาลกาลย์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4141-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4141-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของผู้หญิงไทย และทั่วโลก จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO)ปี 2023 ระบุว่า มีผู้หญิงเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกราว 342,000 คนต่อปีทั่วโลก และเป็นโรคที่สามารถป้องกันและรักษาได้หากตรวจพบตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ในประเทศไทย จากรายงานของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ (ปี 2565) พบว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2ในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม โดยมีอัตราการเกิดโรคใหม่ประมาณ 7,500 รายต่อปี และมีผู้เสียชีวิตราว 2,000 รายต่อปี
การตรวจคัดกรองด้วยวิธี Pap Smear หรือ HPV DNA Test สามารถช่วยลดอัตราการเกิดโรคและการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญ เข้ารับการอบรมความรู้และตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ จึงเป็นกลยุทธ์สำคัญในการควบคุมโรคนี้ในระดับชุมชน
จากการสรุปผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2567 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ พบว่าสตรีกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการตรวจคัดกรองเพียง 138 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.43 จากประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 1,027 คน ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ชี้วัดตามยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ปี 2568 สาเหตุส่วนใหญ่มาจากกลุ่มเป้าหมายบางส่วนที่ไม่เข้ารับบริการไม่กล้ามาตรวจ,กลัวเจ็บและบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญของการตรวจมะเร็งปากมดลูกและปัจจุบันนี้ตรวจคัดกรองด้วยวิธี HPV DNA Test ซึ่งผู้รับบริการเป็นผู้ตรวจด้วยตนเอง จึงช่วยลดความเขินอายได้ ด้วยเหตุนี้ โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จึงจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้หญิงมีความรู้ ความตระหนัก และเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองได้อย่างสะดวกและต่อเนื่อง อันจะนำไปสู่การลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 70
- ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
- ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเป้าหมาย (จำนวน 50 คน) |
|
|||
3 | เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการอบรมและการตรวจคัดกรองในระดับ “มาก” ถึง “มากที่สุด” ตามแบบประเมินความพึงพอใจ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก สาเหตุ การป้องกัน และการตรวจคัดกรองอย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย 90%ของผู้เข้าร่วมโครงการ (3) เพื่อสร้างความตระหนักและกระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะยาว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ สตรีลำใหม่ใส่ใจสุขภาพ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4141-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดุษฎี ปาลกาลย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......