โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม ”
ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2512-2-12 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2512-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการหกล้มในผู้สูงอายุ เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นได้บ่อย เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย ทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงและทรงตัวได้ไม่ดีพอ จากการวิจัยพบว่า ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้ม 28-35% ส่วนในผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้มเพิ่มขึ้นเป็น 32-42% และยังพบว่ามีอัตราการเสียชีวิตจากการหกล้มสูงเป็นอันดับ 2 เฉลี่ย 3 คนต่อวัน รองจากการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุบนท้องถนน
การหกล้ม เกิดจากการสูญเสียการทรงตัวของผู้สูงอายุ มีปัจจัยเสี่ยง 2 ประเภท คือ ปัจจัยเสี่ยงภายใน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านสายตา โดยเฉพาะปัญหาสายตายาวและโรคต้อทำให้ผู้สูงอายุมองเห็นไม่ชัด ข้อต่อและเอ็นอ่อนแอลงทำให้ผู้สูงอายุมักทรงตัวไม่อยู่ ปัญหาปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะเล็ดทำให้ต้องรีบเข้าห้องน้ำโรคประจำตัวบางอย่างที่ส่งผลต่อการหกล้ม เช่น โรคหลอดเลือด โรคพาร์กินสัน การใช้ยาบางตัว ที่ทำให้เกิดอาการง่วงซึมหรือวูบได้ เช่น ยานอนหลับ ยาลดความดันโลหิต ยาต้านอาการซึมเศร้า และปัจจัยเสี่ยงภายนอก คือ สภาพแวดล้อมรอบตัวผู้สูงอายุ เช่น พื้นบ้านที่ลื่นหรือมีสิ่งกีดขวาง แสงไฟในบ้านที่สว่างไม่เพียงพอ ขั้นบันไดที่สูงชันหรือแคบ พื้นห้องน้ำเปียกลื่น รองเท้าของผู้สูงอายุที่ไม่เหมาะสม ไม่สามรถยึดเกาะพื้นได้ดี หรือไม่สบายเท้า ทำให้ผูสูงอายุสะดุดหกล้มได้ง่าย เป็นต้น ซึ่งการหกล้มในผู้สูงอายุส่งผลกระทบด้านคุณภาพชีวิต กล่าวคือ ด้านร่างกายเกิดการบาดเจ็บเล็กน้อย ซึ่งบางรายอาจรุนแรงส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุกลายเป็นผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงพิการ หรือรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ด้านเศรษฐกิจ จากอุบัติการณ์หกล้มบาดเจ็บทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสุขภาพในระยะต่างๆ ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุก็มักกลัวการหกล้ม โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาจเคยหกล้มไปแล้ว จะยิ่งกลัวมากขึ้น เกิดความกังวลและขาดความมั่นใจในการเดินจนเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้
สำหรับพื้นที่ตำบลรือเสะาออก ปีงบประมาณ 2567 มีผู้สูงอายุจำนวน 902 คน จากข้อมูลการคัดกรอง 9 ด้าน พบว่า มีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองครบทั้ง 9 ด้าน จำนวน 787 คน คิดเป็นร้อยละ 87.25 พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว/การหกล้ม จำนวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 โดยมีผู้สูงอายุติดบ้าน-ติดเตียงที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.9 จะเห็นได้ว่า หากญาติหรือคนใกล้ชิดไม่ได้ตระหนักถึงความผิดปกติด้านการหกล้ม จะทำให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยที่ล่าช้า และไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อการดูแลเป็นภาระการดูแลของผู้ดูแลและครอบครัว ดังนั้น การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้มจึงมีส่วนสำคัญในการป้องกันหกล้มที่จะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความพิการและมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขต อบต.รือเสาะออก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าว จึงจัดโครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม ประจำงบประมาณ 2568 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และ อสม.เข้าใจถึงการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และกระตุ้นสมรรถภาพของผู้สูงอายุที่บ้านและในชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม การส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และ อสม.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และไม่เกิดความพิการจากการพลัดตกหกล้ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
0.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม การส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2512-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม ”
ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2512-2-12 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2512-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาการหกล้มในผู้สูงอายุ เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นได้บ่อย เนื่องจากความเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย ทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงและทรงตัวได้ไม่ดีพอ จากการวิจัยพบว่า ผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้ม 28-35% ส่วนในผู้ที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป เสี่ยงต่อการหกล้มเพิ่มขึ้นเป็น 32-42% และยังพบว่ามีอัตราการเสียชีวิตจากการหกล้มสูงเป็นอันดับ 2 เฉลี่ย 3 คนต่อวัน รองจากการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุบนท้องถนน การหกล้ม เกิดจากการสูญเสียการทรงตัวของผู้สูงอายุ มีปัจจัยเสี่ยง 2 ประเภท คือ ปัจจัยเสี่ยงภายใน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านสายตา โดยเฉพาะปัญหาสายตายาวและโรคต้อทำให้ผู้สูงอายุมองเห็นไม่ชัด ข้อต่อและเอ็นอ่อนแอลงทำให้ผู้สูงอายุมักทรงตัวไม่อยู่ ปัญหาปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะเล็ดทำให้ต้องรีบเข้าห้องน้ำโรคประจำตัวบางอย่างที่ส่งผลต่อการหกล้ม เช่น โรคหลอดเลือด โรคพาร์กินสัน การใช้ยาบางตัว ที่ทำให้เกิดอาการง่วงซึมหรือวูบได้ เช่น ยานอนหลับ ยาลดความดันโลหิต ยาต้านอาการซึมเศร้า และปัจจัยเสี่ยงภายนอก คือ สภาพแวดล้อมรอบตัวผู้สูงอายุ เช่น พื้นบ้านที่ลื่นหรือมีสิ่งกีดขวาง แสงไฟในบ้านที่สว่างไม่เพียงพอ ขั้นบันไดที่สูงชันหรือแคบ พื้นห้องน้ำเปียกลื่น รองเท้าของผู้สูงอายุที่ไม่เหมาะสม ไม่สามรถยึดเกาะพื้นได้ดี หรือไม่สบายเท้า ทำให้ผูสูงอายุสะดุดหกล้มได้ง่าย เป็นต้น ซึ่งการหกล้มในผู้สูงอายุส่งผลกระทบด้านคุณภาพชีวิต กล่าวคือ ด้านร่างกายเกิดการบาดเจ็บเล็กน้อย ซึ่งบางรายอาจรุนแรงส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุกลายเป็นผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงพิการ หรือรุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ด้านเศรษฐกิจ จากอุบัติการณ์หกล้มบาดเจ็บทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสุขภาพในระยะต่างๆ ด้านจิตใจ ผู้สูงอายุก็มักกลัวการหกล้ม โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่อาจเคยหกล้มไปแล้ว จะยิ่งกลัวมากขึ้น เกิดความกังวลและขาดความมั่นใจในการเดินจนเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ สำหรับพื้นที่ตำบลรือเสะาออก ปีงบประมาณ 2567 มีผู้สูงอายุจำนวน 902 คน จากข้อมูลการคัดกรอง 9 ด้าน พบว่า มีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองครบทั้ง 9 ด้าน จำนวน 787 คน คิดเป็นร้อยละ 87.25 พบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว/การหกล้ม จำนวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 14.9 โดยมีผู้สูงอายุติดบ้าน-ติดเตียงที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.9 จะเห็นได้ว่า หากญาติหรือคนใกล้ชิดไม่ได้ตระหนักถึงความผิดปกติด้านการหกล้ม จะทำให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยที่ล่าช้า และไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างเหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อการดูแลเป็นภาระการดูแลของผู้ดูแลและครอบครัว ดังนั้น การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้มจึงมีส่วนสำคัญในการป้องกันหกล้มที่จะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความพิการและมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขต อบต.รือเสาะออก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาด้านสุขภาพดังกล่าว จึงจัดโครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม ประจำงบประมาณ 2568 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และ อสม.เข้าใจถึงการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และกระตุ้นสมรรถภาพของผู้สูงอายุที่บ้านและในชุมชนได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม การส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และ อสม.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม และไม่เกิดความพิการจากการพลัดตกหกล้ม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพลัดตกหกล้ม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยง ผู้ดูแล และอสม.มีทักษะในการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม การส่งเสริมความรู้และฝึกทักษะการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2512-2-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......