กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,810.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม และของทอดนานาชนิด ที่มักจะวางขายอยู่หน้าโรงเรียนทุกเช้าก่อนเข้าเรียนและหลังเลิกเรียน ผู้ปกครองและครูเองต่างรู้ดีว่าอาหารเหล่านั้นไม่ได้มีประโยชน์ต่อร่างกายของเด็กในวัยกำลังเติบโต และอาจทำให้เกิดโรคอ้วนตามมา แต่หากลงลึกไปกว่านั้นไม่ใช่แค่ความอ้วนที่เด็กต้องเจอ "ปัจจุบันโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง มักจะเกิดจากพฤติกรรมกินอยู่ที่ไม่ถูกต้องและการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ซึ่งกำลังกลายเป็นปัญหาของคนเกือบทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายและปัญหาสาธารณสุขหนึ่งในสามลำดับแรกของไทย ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องนี้จะเริ่มขึ้นตั้งแต่ในวัยเด็ก เพราะสังคมไทยได้รับอิทธิพลจากประเทศตะวันตก อาหารที่บริโภคเป็นประจำจึงกลายเป็นอาหารที่ให้พลังงานสูง มีรสจัดทั้งหวาน มัน และเค็ม ในขณะที่อัตราการบริโภคผักและผลไม้ซึ่งให้คุณประโยชน์ต่อร่างกายกลับลดลง รวมทั้งขาดการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกันโดยวางแผนตั้งแต่วัยเด็ก
การสำรวจโครงการพัฒนาต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยดูดีมีพลานามัย หรือเรียกสั้น ๆ ว่า โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๗ โดยพบโรคอ้วนในเด็กมีอัตราสูงสุดในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีเด็กอ้วนถึงร้อยละ ๒๐ ขณะที่เด็กอีกร้อยละ ๗๘ มีไขมันในเลือดสูง นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กอ้วนเหล่านั้นมีปัญหาความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง เบาหวานซึ่งล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสะสมและกลายเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคตทั้งสิ้น จากการดำเนินการและสร้างเครือข่ายโรงเรียนต้นแบบในช่วงแรกจนถึงปี พ.ศ.๒๕๔๙ โดยได้รับความร่วมมือจากครูและผู้ปกครองซึ่งได้ผลในระดับหนึ่ง หากแต่ยังพบว่ามีเด็กที่เป็นโรคอ้วนอย่างต่อเนื่อง โดยการสำรวจในปี พ.ศ.๒๕๕๙ ในเครือข่ายโรงเรียนรัฐ ๔ แห่ง พบว่า นักเรียนประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ มีอัตราการเกิดโรคอ้วนร้อยละ ๒๑ ไขมันในเลือดสูงร้อยละ ๖๖ ซึ่งใกล้เคียงกับการสำรวจในการดำเนินโครงการช่วงแรก ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องยากและต้องใช้เวลา ยิ่งในปัจจุบันนี้มีสิ่งเร้าอยู่รอบตัวเด็กมากไปหมด การสร้างนิสัยและความรู้เท่าทันให้เด็กได้เลือกหรือตัดสินใจเองอย่างมีเหตุผลต่อสุขภาพที่ดีของตัวเองนั้นเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งจำเป็นจะต้องใช้การมีส่วนร่วมของผู้บริหารทุกระดับในการกำหนดนโยบาย โดยครูและผู้ปกครองมีส่วนสำคัญในการให้ความรู้และจัดหาอาหารที่เหมาะสม รวมทั้งควบคุมสิ่งแวดล้อมในและรอบโรงเรียนให้ปลอดจากอาหารที่เป็นภัยต่อสุขภาพและผู้ใหญ่ควรเป็นต้นแบบของการบริโภคที่ดีด้วย ด้วยเหตุดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันจึงจัดให้มีการอบรมโครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ๒. เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น ๒. นักเรียนมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายแล้ว โดยเด็กนักเรียนที่มีดัชนีมวลกายเกินและผู้นำนักเรียน จำนวน 60 คน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านตลิ่งชัน ได้รับความรู้ในการสร้างสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้กับนักเรียน เพื่อให้เด็กไทยดูดี มีพลานามัย โดยทั้งครู นักเรียน ต่างมีส่วนร่วมซึ่งต่อไผปในอนาคตปัญหาโภชนาการเกินจะลดลง ทำให้โรคเรื้อรังต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ อันเกิดจากปัยหาโภชนาการเกินจะลดลงด้วย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ๒. เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีดัชนีมวลกายเกินและผู้นำนักเรียน จำนวน 60 คน ในเขตรับผิดชอบ ของ รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ๒. เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็กนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กไทยดูดี มีพลานามัย จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด