กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชน สกร. สุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L5282-02-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลอุใดเจริญ
วันที่อนุมัติ 5 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 25,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเอกสิทธิ์ โอนิกะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์การเรียนรู้ระดับตำบลอุใดเจริญ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 กำหนดให้สร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ประกอบกับประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จากการสำรวจสภาวะสุขภาพของนักศึกษา สกร.ระดับอำเภอควนกาหลง พบประเด็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ดังนี้ นักศึกษาร้อยละ 25 มีภาวะโภชนาการไม่เหมาะสม (ทั้งน้ำหนักเกินและน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) นักศึกษาร้อยละ 30มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารไม่ครบ 3 มื้อ การบริโภคน้ำอัดลมและขนมกรุบกรอบ นักศึกษาร้อยละ 40 มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ โดยใช้เวลาส่วนใหญ่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือ พบปัญหาสุขภาพจิต เช่น ความเครียด วิตกกังวล ในนักศึกษาร้อยละ 15 นอกจากนี้ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพของเยาวชนอย่างมีนัยสำคัญ โดยพบว่า:เยาวชนมีความเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ตั้งแต่อายุยังน้อย การใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมส่งผลต่อปัญหาสายตาและกระดูกและกล้ามเนื้อ ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพนักศึกษาแบบองค์รวม และเห็นความจำเป็นในการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพนักศึกษาอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดจัด การดำเนินโครงการ "เยาวชน สกร. สุขภาพดี ชีวีมีสุข" จะช่วยแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบและป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ทักษะ และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้แก่นักศึกษา ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งโรงเรียน ครอบครัว และชุมชน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของนักศึกษาอย่างยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีขึ้น มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตได้ดีขึ้น

นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ จำนวน 40 คน  มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีขึ้น มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตได้ดีขึ้น

0.00
2 เพื่อให้นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ เลือกทานอาหารที่เหมาะสมและทำกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ นักศึกษาจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ เลือกทานอาหารที่เหมาะสมและทำกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ นักศึกษาจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

0.00
3 เพื่อให้นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อการเรียนและการใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข

นักศึกษาศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ มีมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อการเรียนและการใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 40 25,550.00 0 0.00 25,550.00
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ ส่งเสริมความรู้สุขภาพ 40 25,250.00 - -
1 - 30 ก.ย. 68 สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน 0 300.00 - -
รวมทั้งสิ้น 40 25,550.00 0 0.00 25,550.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีขึ้น มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตได้ดีขึ้น

  2. ร้อยละ 80 ของนักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ เลือกทานอาหารที่เหมาะสมและทำกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ นักศึกษาจะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

  3. ร้อยละ 80 ของ นักศึกษา ศกร.ระดับตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งส่งผลต่อการเรียนและการใช้ชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2568 15:15 น.