โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี ”
ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบัลกีส กาหะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
ที่อยู่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007 เลขที่ข้อตกลง 011
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,415.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตการพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญของหน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้องตระหนัก และให้ความสนใจเพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนศาลาฟี ส่วนมากมีผู้ปกครองรายประกอบอาชีพเกษตรกรรม บางส่วนมีอาชีพรับจ้างภาคโรงงาน ซึ่งต้องทำงานภายใต้เวลาที่จำกัด โดยเฉพาะในช่วงเช้าที่ต้องเร่งรีบส่งลูกไปโรงเรียนทำให้การเอาใจใส่ลูกเรื่องการรับประทานอาหารเช้าไม่ค่อยสมบูรณ์ เด็กส่วนมากไม่ได้รับอาหารเช้าก่อนมาเรียน ทำให้ขาดการเตรียมพร้อมสำหรับเด็กที่ควรได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญสำหรับเด็กที่กำลังเจริญเติบโต เป็นภาวะเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กเป็นไปอย่างล่าช้าได้ ในภาคเรียนที่ 1/2568 โรงเรียนศาลาฟีได้ดำเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อประเมินพฤติกรรมการดูและรักษาสุขภาพ และโอกาสการรับประทานอาหารมื้อเช้าของนักเรียน ร่วมกับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กทุกคนแล้ว โดยเปรียบเทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัยตามช่วงอายุของเด็ก ปรากฏว่า มีเด็กที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการ จำนวน 61 คน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้แก่เด็ก อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่เด็ก ให้ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน(เด็กและเยาวชน) ให้ เก่ง ดี มีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญาต่อไป
โรงเรียนศาลาฟี ตระหนักและให้ความสำคัญเลยจัดโครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
61
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ตระหนักถึงโภชนาการที่ดี*: สร้างวินัยในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในอนาคต ร้อยละ 90
2.นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร ร้อยละ 100
- นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
- นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ90
- นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องทุพโภชนาการหรืออาหารที่ดี ร้อยละ 90
นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีคุณค่าและมีความปลอดภัย ร้อยละ 100
นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ 90
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
90.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
61
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
61
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวบัลกีส กาหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี ”
ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบัลกีส กาหะมะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007 เลขที่ข้อตกลง 011
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,415.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตการพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญของหน่วยงานซึ่งรับผิดชอบจะต้องตระหนัก และให้ความสนใจเพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนศาลาฟี ส่วนมากมีผู้ปกครองรายประกอบอาชีพเกษตรกรรม บางส่วนมีอาชีพรับจ้างภาคโรงงาน ซึ่งต้องทำงานภายใต้เวลาที่จำกัด โดยเฉพาะในช่วงเช้าที่ต้องเร่งรีบส่งลูกไปโรงเรียนทำให้การเอาใจใส่ลูกเรื่องการรับประทานอาหารเช้าไม่ค่อยสมบูรณ์ เด็กส่วนมากไม่ได้รับอาหารเช้าก่อนมาเรียน ทำให้ขาดการเตรียมพร้อมสำหรับเด็กที่ควรได้รับสารอาหาร โดยเฉพาะอาหารเช้าซึ่งเป็นมื้อสำคัญสำหรับเด็กที่กำลังเจริญเติบโต เป็นภาวะเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการในเด็ก และการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กเป็นไปอย่างล่าช้าได้ ในภาคเรียนที่ 1/2568 โรงเรียนศาลาฟีได้ดำเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อประเมินพฤติกรรมการดูและรักษาสุขภาพ และโอกาสการรับประทานอาหารมื้อเช้าของนักเรียน ร่วมกับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กทุกคนแล้ว โดยเปรียบเทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัยตามช่วงอายุของเด็ก ปรากฏว่า มีเด็กที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการ จำนวน 61 คน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้แก่เด็ก อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่เด็ก ให้ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน(เด็กและเยาวชน) ให้ เก่ง ดี มีความสุขทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจและสติปัญญาต่อไป โรงเรียนศาลาฟี ตระหนักและให้ความสำคัญเลยจัดโครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 61 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ตระหนักถึงโภชนาการที่ดี*: สร้างวินัยในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในอนาคต ร้อยละ 90
2.นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร ร้อยละ 100
- นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
- นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ90
- นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องทุพโภชนาการหรืออาหารที่ดี ร้อยละ 90 นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีคุณค่าและมีความปลอดภัย ร้อยละ 100 นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ 90 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90 |
90.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 61 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 61 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2987-10(2)-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวบัลกีส กาหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......