โครงการสุขภาพและโภชนาการดี มีชีวิตที่สดใส
ชื่อโครงการ | โครงการสุขภาพและโภชนาการดี มีชีวิตที่สดใส |
รหัสโครงการ | 68-L2987-10(2)-008 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนศาลาฟี |
วันที่อนุมัติ | 26 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 4 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 30,090.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวบัลกีส กาหะมะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 4 มิ.ย. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 30,090.00 | |||
รวมงบประมาณ | 30,090.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละนักเรียนมีการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการดูแลสุขภาพและโภชนาการของตนเอง | 90.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนก็เป็นสถาบันหนึ่งของสังคม มีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการที่ดี แก่นักเรียน การให้บริการด้านสุขภาพและด้านโภชนาการ การให้ความรู้ด้านสุขภาพ ช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จากข้อมูลจำนวนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ปีการศึกษา 2567 พบว่า มีนักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 44 ซึ่งถือเป็นจำนวนที่น่าวิตกกังวล เนื่องต้นทุนคุณภาพชีวิตที่ดีต้องมาจากพื้นฐานการมีภาวะโภชนาการที่ดีเช่นกัน จากสาเหตุดังกล่าวนี้ โรงเรียนศาลาฟี จึงจัดทำโครงการสุขภาพและโภชนาการดี มีชีวิตที่สดใสขึ้น โรงเรียนศาลาฟี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กนักเรียน 2) เพื่อเพาะปลูกและพัฒนาทักษะการเกษตรในพื้นที่การเรียนรู้ 3) เพื่อกระตุ้นการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการดูแลสุขภาพและโภชนาการของตนเอง 4) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและสุขภาพที่ดีในเด็กนักเรียน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 การเรียนรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กนักเรียน ร้อยละ 90 นักเรียนมีปลูกและพัฒนาทักษะการเกษตรในพื้นที่การเรียนรู้ ร้อยละ 90 นักเรียนมีการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการดูแลสุขภาพและโภชนาการของตนเอง ร้อยละ 80 นักเรียนมีสร้างภูมิคุ้มกันและสุขภาพที่ดีในเด็กนักเรียน |
90.00 | 80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 30,090.00 | 0 | 0.00 | |
4 มิ.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 | 1 กิจกรรม 1อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่อง สุขภาพและโภชนาการ 2 กิจกรรม 2 ปลูกผักสวนครัว 3 กิจกรรม 3 ฝึกทำอาหาร | 0 | 30,090.00 | - |
- เด็กมีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและเลือกอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น
- เด็กเข้าใจและเห็นคุณค่าของการปลูกผักและการบริโภคอาหารที่ปลูกเอง นำไปสู่การมีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
- เด็กสามารถทำอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการได้เป็นผลสำเร็จ
- สุขภาพร่างกายดีขึ้น โดยน้ำหนักที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2568 00:00 น.