โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ชูเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,698.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาความบกพร่องด้านการเรียนรู้ ใช้อธิบายลักษณะพิเศษของเด็กที่มีปัญหาในการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ทางวิชาการ ภาษา และการเขียน เป็นผลมาจากระบบการทำงานที่ผิดปกติของสมองในขั้นตอนการรับรู้และสื่อสารข้อมูล ทำให้มีปัญหาเรียนยาก หรือเรียนช้ากว่าเด็กคนอื่นในวัยเดียวกัน เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ในลักษณะนี้ จัดเป็น 1 ใน 9 กลุ่มเด็กที่ต้องรับการดูแลพิเศษ แต่ไม่ได้หมายความว่าเด็กไม่ฉลาดหรือขี้เกียจ เพียงแต่มีระบบความคิด การจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลแตกต่างจากคนอื่น พฤติกรรมทางการเรียนรู้ที่ผิดปกติ เช่น การขาดสมาธิ ความบกพร่องทางการอ่าน การเขียน หรือการคำนวณ รวมถึงความยากลำบากในการปรับตัวในห้องเรียน สามารถส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางการศึกษาและชีวิตของเด็กในระยะยาว หากปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไขตั้งแต่ต้น อาจนำไปสู่ปัญหาด้านอารมณ์ สังคม และการดำเนินชีวิตในอนาคต
การคัดกรองและประเมินพฤติกรรมทางการเรียนรู้ตั้งแต่เนิ่น ๆ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากช่วยให้สามารถระบุปัญหาได้ตรงจุด พร้อมทั้งวางแผนการช่วยเหลือและพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของนักเรียนได้อย่างเหมาะสม บทบาทสำคัญในการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาเหล่านี้ผ่านการสร้างระบบคัดกรองและประเมินผลอย่างเป็นระบบ การทำงานร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง และผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาจะช่วยสร้างแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะบุคคลของเด็ก นอกจากนี้ การคัดกรองอย่างเป็นระบบยังช่วยลดความเสี่ยงในการปล่อยปละละเลยปัญหาและเพิ่มโอกาสให้นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่สมบูรณ์มากขึ้นในอนาคต
ดังนั้น ปัญหาความบกพร่องด้านการเรียนรู้ จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดย ทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ทั้งนี้ เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 14 พ.ศ.2562) มาตรา 50(6)(7) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 มาตรา 16(10)(19) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2569) ที่เน้นการเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย จึงได้จัดทำโครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ เพื่อคัดกรองและช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเด็กให้สามารถดึงศักยภาพของตนเองออกมาได้อย่างเต็มที่และสร้างอนาคตที่ดี ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา
- เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.1 นักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ได้รับการคัดกรองและดูแลอย่างเหมาะสมตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม
10.2 ครูและผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลและส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม รวมถึงสุขภาพกายและใจของนักเรียน
10.3 โรงเรียนมีระบบในการติดตาม ดูแล และส่งเสริมสุขภาพนักเรียนแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ลดอัตราการเกิดปัญหาพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการเรียนตกต่ำ หรือการออกกลางคัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา (3) เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมชาย ชูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ชูเอียด
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,698.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาความบกพร่องด้านการเรียนรู้ ใช้อธิบายลักษณะพิเศษของเด็กที่มีปัญหาในการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ทางวิชาการ ภาษา และการเขียน เป็นผลมาจากระบบการทำงานที่ผิดปกติของสมองในขั้นตอนการรับรู้และสื่อสารข้อมูล ทำให้มีปัญหาเรียนยาก หรือเรียนช้ากว่าเด็กคนอื่นในวัยเดียวกัน เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ในลักษณะนี้ จัดเป็น 1 ใน 9 กลุ่มเด็กที่ต้องรับการดูแลพิเศษ แต่ไม่ได้หมายความว่าเด็กไม่ฉลาดหรือขี้เกียจ เพียงแต่มีระบบความคิด การจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลแตกต่างจากคนอื่น พฤติกรรมทางการเรียนรู้ที่ผิดปกติ เช่น การขาดสมาธิ ความบกพร่องทางการอ่าน การเขียน หรือการคำนวณ รวมถึงความยากลำบากในการปรับตัวในห้องเรียน สามารถส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางการศึกษาและชีวิตของเด็กในระยะยาว หากปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไขตั้งแต่ต้น อาจนำไปสู่ปัญหาด้านอารมณ์ สังคม และการดำเนินชีวิตในอนาคต การคัดกรองและประเมินพฤติกรรมทางการเรียนรู้ตั้งแต่เนิ่น ๆ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากช่วยให้สามารถระบุปัญหาได้ตรงจุด พร้อมทั้งวางแผนการช่วยเหลือและพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของนักเรียนได้อย่างเหมาะสม บทบาทสำคัญในการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาเหล่านี้ผ่านการสร้างระบบคัดกรองและประเมินผลอย่างเป็นระบบ การทำงานร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง และผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาจะช่วยสร้างแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับความต้องการเฉพาะบุคคลของเด็ก นอกจากนี้ การคัดกรองอย่างเป็นระบบยังช่วยลดความเสี่ยงในการปล่อยปละละเลยปัญหาและเพิ่มโอกาสให้นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่สมบูรณ์มากขึ้นในอนาคต ดังนั้น ปัญหาความบกพร่องด้านการเรียนรู้ จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไขโดย ทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ทั้งนี้ เทศบาลเมืองสะเดา ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 14 พ.ศ.2562) มาตรา 50(6)(7) และพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ.2542 มาตรา 16(10)(19) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2569) ที่เน้นการเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย จึงได้จัดทำโครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ เพื่อคัดกรองและช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเด็กให้สามารถดึงศักยภาพของตนเองออกมาได้อย่างเต็มที่และสร้างอนาคตที่ดี ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา
- เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10.1 นักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ได้รับการคัดกรองและดูแลอย่างเหมาะสมตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม 10.2 ครูและผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลและส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม รวมถึงสุขภาพกายและใจของนักเรียน 10.3 โรงเรียนมีระบบในการติดตาม ดูแล และส่งเสริมสุขภาพนักเรียนแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ลดอัตราการเกิดปัญหาพฤติกรรมรุนแรง ปัญหาการเรียนตกต่ำ หรือการออกกลางคัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและระบุเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมหรือปัญหาทางการเรียนรู้ในระยะเริ่มต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน โดยการให้การดูแลและช่วยเหลือในด้านอารมณ์ พฤติกรรม และการปรับตัวในสถานศึกษา (3) เพื่อวางแผนและจัดระบบช่วยเหลือทางการศึกษาและสุขภาพอย่างบูรณาการสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการประเมินคัดกรองเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมทางการเรียนรู้ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7252-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมชาย ชูเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......