กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพัตมา วาเด็งพงค์

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2487-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2487-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการในช่วงวัยแรกเกิดถึงอายุ 6 ปี จะมีความสำคัญมา เนื่องจากภาวะโภชนาการที่ดีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตเด็ก โดยเสริมพัฒนาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ป้องกันสุขภาพ และวางพื้นฐานให้เด็กสามารถพัฒนาศักยภาพตนได้อย่างเต็มที่ การขาดโภชนาการที่ดีจะกีดขวางการเจริญเติบโตของเด็ก ทำให้สติปัญญาพัฒนาช้า ลดทอนศักยภาพ และคงความยากจนต่อไป จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-6 ปี ของภาคใต้ไตรมาศที่ 4 ปี 2554 พบว่าเด็กอายุ 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 9.91 และพบว่าเด็กอายุ 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการมากกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 10.24โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ นราธิวาส ยะลา และปัตตานี จากสถานการณ์ปัญหาด้านโภชนาการทั้งการขาดและเกินมีเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สัมพันธ์กันหลากหลาย ที่สำคัญได้แก่ ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม ชีวภาพ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการแก้ปัญหาด้านโภชนาการและควบคุมป้องกันโรคเรื้อรังต่างๆ มี 4 ประเด็นที่สำคัญ ได้แก่ การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การควบคุมด้านปริมาณและคุณภาพอาหาร การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการกำหนด และดำเนินนโยบาย และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการกำหนดและดำเนินนโยบายในด้านการจัดการองค์ความรู้ก่อเกิดองค์ความรู้ต่างๆ จากการประเมินการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ไตรมาศที่ 4 พ.ศ. 2560 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนทั้งหมด793 คน พบเด็กที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16 (เพิ่มขึ้นจากไตรมาศที่ 4 ปี 2559 ที่พบจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 2.32) มีการดำเนินกิจกรรมโครงการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องทุกปี แต่ก็ยังพบว่าเป็นปัญหาอยู่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ยังพบพฤติกรรมการบริโภคอาหารประเภทกรุบกรอบมากขึ้น รับประทานอาหารไม่ครบมื้อหลัก ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน 5 หมู่ ด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น สังคม เศรษฐกิจ รวมไปถึงการขาดความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาศึกษา ขาดการใส่ใจดูแลเท่าที่ควรของพ่อแม่ผู้ปกครองที่ดูแลเด็ก เป็นผลให้เด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ภาวะโภชนาการไม่สมส่วน ประกอบกับ ปี 2560 ยังพบเด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2500 กรัม (LBW : Low birth weight) จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 9.28 (ลดลงจากปี 2559 ที่พบจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 10.90) ซึ่งอาจส่งผลต่อการภาวะโภชนาการและพัฒนาการในอนาคตต่อไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๖ ปี
  3. เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ ๒,๕๐๐ กรัม (LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเสริมสร้างและเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.) และ ผอม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ไม่พบอัตราเด็กอายุ 0-6 ปี ภาวะโภชนาการไม่สมส่วน ผอมและน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 2. ผู้ปกครองสามารถดูแลภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 0-6 ปีได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

วันที่ 23 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และ ผอม พร้อมแจกอาหารเสริม/ยาเสริมธาตุเหล็ก/วิตามินเสริม คนละ 1 ชุด และติดตามผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6  ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และ ผอม พร้อมแจกอาหารเสริม/ยาเสริมธาตุเหล็ก/วิตามินเสริม คนละ 1 ชุด และติดตามผล  จำนวน 30 คน

 

30 0

2. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังติดตามภาวะพัฒนาการ

วันที่ 30 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

แจกชุดทดสอบพัฒนาการเด็กอายุ 0-6 ปี DSPM แก่พ่อ/แม่/ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่เกิดในปี 2559 และมีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (LBW : Low birth weight) จำนวน 18 คน(18 ชุด) พร้อมสอนวิธีการใช้ชุดทดสอบในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์อายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แจกชุดทดสอบพัฒนาการเด็กอายุ 0-6 ปี DSPM แก่พ่อ/แม่/ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่เกิดในปี 2559 และมีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (LBW : Low birth weight) จำนวน 18 คน(18 ชุด) พร้อมสอนวิธีการใช้ชุดทดสอบในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามเกณฑ์อายุ

 

18 0

3. กิจกรรมเสริมสร้างและเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.) และ ผอม

วันที่ 22 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มพ่อ/แม่/ผู้ปกครองพร้อมเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม (เฉพาะกลุ่มในหมู่บ้านไม่รวมกับกลุ่มในศพด.)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในกลุ่มพ่อ/แม่/ผู้ปกครองพร้อมเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.)/ผอม (เฉพาะกลุ่มในหมู่บ้านไม่รวมกับกลุ่มในศพด.) จำนวน 60 คน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี
ตัวชี้วัด : 1. เด็กอายุ 0-6 ปีที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมลดลงจากปี 2560 อย่างน้อยร้อยละ 50
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๖ ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-6 ปี มีประวัติภาวะโภชนาการสมส่วน มากกว่าร้อยละ 75
0.00

 

3 เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ ๒,๕๐๐ กรัม (LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ
ตัวชี้วัด : พ่อ/แม่/ผู้ปกครองที่ดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (LBW : Low birth weight) ในปี 2560 และ สามารถประเมินพัฒนาการในช่วงที่เด็กอายุ 9 เดือน และ 18 เดือน ตามเกณฑ์มาตรฐาน DSPM ด้วยตัวเองได้ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม (คผ.) และภาวะโภชนาการผอมในเด็กอายุ 0-6 ปี (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลภาวะโภชนาการในเด็กอายุ ๐ – ๖ ปี (3) เพื่อเสริมสร้างความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีประวัติน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ ๒,๕๐๐ กรัม (LBW:Low birth weight) ในด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเสริมสร้างและเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีประวัติภาวะโภชนาการค่อนข้างผอม(คผ.) และ ผอม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างพัฒนาการและภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0 – 6 ปี ต.ศาลาใหม่ ปี 2561 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2487-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัตมา วาเด็งพงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด