กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลบันนังสตา




ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L8278-01-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L8278-1-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L8278-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 72,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของอำเภอบันนังสตาตลอดมา เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลงในตำบลบันนังสตามากที่สุด ได้แก่ โรคไข้เลือดออกและ โรคมาลาเรียพบในกลุ่มวัยเด็กนักเรียนมากที่สุดและรองลงมาคือกลุ่มวัยทำงาน ซึ่งกลุ่มวัยทำงานจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังเป็นกรณีพิเศษเนื่องจากกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้นำครอบครัวหากมีการเจ็บป่วยจะส่งผลกระทบต่อรายได้ในครอบครัวจนเกิดเป็นนปัญหาด้านอื่นๆอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน และปัจจุบันยังพบผู้ป่วยตลอดทั้งปีอีกด้วย ซึ่งมีสาเหตุการเกิดโรคพบว่าในชุมชนมีค่า HI CI ที่เกินมาตราฐานเนื่องจากประชาชนขาดความรู้และความตระหนักในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ดังนั้นการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค และรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่นำโดยแมลงที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุก โดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรค เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคติดต่อที่นำโดยแมลงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์โรคที่นำโดยแมลงและสถิติการแพร่ระบาดของโรคเขตตำบลบันนังสตา ปี พ.ศ 2565-2567 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกปี 2565 จำนวน 0 ราย อัตราป่วย 0 ต่อแสนประชากร ปี 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 52 ราย อัตราป่วย 423.17 ต่อแสนประชากรและพบผู้ป่วยปี 2567 จำนวน 41 ราย อัตราป่วย 299.18 ต่อแสนประชากร พบผู้ป่วยโรคมาลเรียปี 2565 จำนวน 3 ราย อัตราป่วย 21.93 ต่อแสนประชากร ปี 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 13 ราย อัตราป่วย 95.05 ต่อแสนประชากรและพบผู้ป่วยปี 2567 จำนวน 0 ราย อัตราป่วย 0 ต่อแสนประชากร       ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคที่นำโดยแมลงในชุมชนหน่วยงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลบันนังสตาจึงได้จัดทำ“โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง”เพื่อสร้างกระแสและเป็นกำลังเสริมในด้านการป้องกันโรคและลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคที่นำโดยแมลงให้มีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงการป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
  2. 2.เพื่อให้ชุมชนมีค่า HI CI ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
  3. ๓.เพื่อให้ชุมชนมีบ้านต้นแบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 495
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงการป้องกันตนเองและครอบครัวและสามารถนำไปเผยแพร่สู่ชุชนใกล้เคียงเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยแมลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงการป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลง
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ80ของประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโรคโรคติดต่อที่นำโดยแมลง

     

    2 2.เพื่อให้ชุมชนมีค่า HI CI ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
    ตัวชี้วัด : 2.HI CI=ไม่เกิน ๑๐

     

    3 ๓.เพื่อให้ชุมชนมีบ้านต้นแบบ
    ตัวชี้วัด : ๓.ชุมชนมีบ้านต้นแบบหมู่ละ 1 บ้าน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 495
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 495
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาน มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงการป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลง (2) 2.เพื่อให้ชุมชนมีค่า HI CI ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (3) ๓.เพื่อให้ชุมชนมีบ้านต้นแบบ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการป้องกันและควบคุมโรคที่นำโดยแมลง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L8278-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลบันนังสตา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด